
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ/วิทยาเขต/วิทยาลัย ปีการศึกษา 2565
คณะศาสนาและปรัชญา
บทสรุปผู้บริหาร
บทนำ
1.1 ชื่อหน่วยงาน ที่ตั้ง และประวัติความเป็นมาโดยย่อ
1.1 ชื่อส่วนงาน ที่ตั้ง และประวัติความเป็นมาโดยย่อ
คณะศาสนาและปรัชญา เป็นส่วนงานจัดการศึกษาและบริหารงานของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ในอดีตงานทุกอย่างขึ้นอยู่กับสำนักงานเลขาธิการเป็นส่วนใหญ่ นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2489 เป็นต้นมา คณะศาสนาและปรัชญาอยู่รวมกับสำนักงานกลางมาเป็นเวลา 45 ปี ครั้นต่อมาปี พ.ศ. 2534 จึงได้แยกออกมาเป็นสัดส่วน มีสถานที่ทำงานเป็นเอกเทศ การทำงานก็เริ่มเข้าระบบและมีความคล่องตัวมากขึ้น ท่านบูรพาจารย์และผู้บริหารทุกท่านตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนี้ มีความผูกพันกับคณะและมหาวิทยาลัยอย่างดียิ่ง ได้อุทิศชีวิตพร้อมทั้งกำลังกาย กำลังทรัพย์ และกำลังสติปัญญา ให้กับมหาวิทยาลัยนี้มาเป็นเวลาอันยาวนาน ซึ่งเต็มไปด้วยความเสียสละอันยิ่งใหญ่เพื่อมุ่งสร้างศาสนบุคคลอันเป็นทรัพยากรสำคัญของชาติและผลิตผลให้มีพระนักศึกษาและนักศึกษาทั่วไปมีคุณภาพเป็นกำลังของพระศาสนาและประเทศชาติ การบริหารงานในคณะศาสนาและปรัชญามีคณบดีเป็นประธานโดยตำแหน่ง โดยมีข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับคณะดังนี้
1.1.1 ชื่อคณะ
ภาษาไทย : คณะศาสนาและปรัชญา
ภาษาอังกฤษ : Faculty of Religion and Philosophy
1.1.2 สถานที่ตั้ง
อาคารพระพรหมมุนี (B7.2) เลขที่ 248 หมู่ 1 ถนนศาลายา – นครชัยศรี
ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
โทรศัพท์ 02-444-6000 ต่อ 1074, 1075, 1076
โทรสาร 02-44-6068
Website http://www.philo.mbu.ac.th
1.2 ปรัชญา ปณิธาน เป้าหมายและวัตถุประสงค์
1.2 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์และพันธกิจ เป้าหมายและวัตถุประสงค์
1.2.1 ปรัชญา (Philosophy)
ปญฺญา หเว หทยํ ปณฺฑิตานํ ปัญญาเป็นหัวใจของนักปราชญ์
1.2.2 ปณิธาน (Aspiration)
ผลิตบัณฑิตเพียบพร้อมด้วยความรู้เเละคุณธรรมเพื่อประโยชน์เเก่ชาติเเละพระพุทธศาสนา
1.2.3 วิสัยทัศน์ (Vision Statements)
มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตให้มีความประพฤติดี ความรู้ดี ความสามารถดี เเละความเป็นผู้มีใจสูง
1.2.4 พันธกิจ (Mission Statements)
- ผลิตบัณฑิตทางพระพุทธศาสนาให้มีคุณสมบัติที่วางไว้ และกระจายโอกาสให้พระภิกษุสามเณร คฤหัสถ์ และผู้สนใจ
- วิจัยเเละพัฒนางานทางวิชาการ เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางด้านวิชาการพระพุทธศาสนาใหม่ ๆ ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจเเละสังคมของประเทศ
- สร้างเสริมให้บริการวิชาการเเก่สังคม ชุมชนเเละท้องถิ่น โดยเฉพาะวิชาการทางพระพุทธศาสนา เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
- ปรับปรุงระบบบริหารจัดการในคณะศาสนาเเละปรัชญาให้ได้มาตรฐานสากล
1.3 โครงสร้างองค์กร และโครงสร้างการบริหาร
1.3 โครงสร้างองค์กร และโครงสร้างการบริหาร
1.3.1 โครงสร้างการแบ่งส่วนงาน
1.3.2 โครงสร้างการบริหารงาน
1.4 รายชื่อผู้บริหาร กรรมการบริหาร
1.4 รายชื่อผู้บริหาร กรรมการบริหารคณะศาสนาและปรัชญา
รายชื่อคณะกรรมการประจำคณะศาสนาและปรัชญา
- คณบดีคณะศาสนาและปรัชญา (ประธานกรรมการ)
- หัวหน้าภาควิชาพุทธศาสตร์ (ผู้แทนผู้บริหาร กรรมการ)
- หัวหน้าภาควิชาศาสนศาสตร์ (ผู้แทนผู้บริหาร กรรมการ)
- พระราชสารสุธี (อาชว์ อาชฺชวปเสฏโ) (ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ)
- พระมหาวิชิต อคฺคชิโต (ผู้แทนคณาจารย์ กรรมการ)
- พระมหาเอกชัย สุชโย (ผู้แทนคณาจารย์ กรรมการ)
- ดร.ประเวช วะทาแก้ว (ผู้แทนคณาจารย์ กรรมการ)
- รศ.ดร.อำพล บุดดาสาร (ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ)
- ผศ.ดร.สมบูรณ์ วัฒนะ (ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ)
- ผศ.ดร.ธีรัตม์ แสงแก้ว (ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ)
- ดร.เสน่ห์ เดชะวงศ์ (ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ)
- พระครูธรรมธร เดโช ิตเตโช (กรรมการและเลขานุการ)
- พระมหาจักรพล อาจารสุโภ, ดร. (ผู้ช่วยเลขานุการ)
- นางสาวสิริพร ครองชีพ (ผู้ช่วยเลขานุการ)
- นางสาวจันทิมา แสงแพร (ผู้ช่วยเลขานุการ)
1.5 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน
1.5 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดการสอน
ภาควิชาพุทธศาสตร์
- หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563) สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา (Buddhist Studies for Development)
- หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563) สาขาวิชาพระพุทธศาสนา (Buddhism) (เปิดการเรียนการสอนเฉพาะในเรือนจำ/ทัณฑสถาน)
ภาควิชาปรัชญา
- หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563) สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม (Philosophy, Religions and cultures)
ภาควิชาศาสนศาสตร์
- หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา (Buddhist Studies)
- หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2564) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา (Buddhism and Philosophy)
1.6 จำนวนนักศึกษา
1.6 จำนวนนักศึกษา
1.6.1 จำนวนนักศึกษา ปีการศึกษา 2565 สรุปได้ดังนี้
ภาควิชา/สาขาวิชา |
จำนวนนักศึกษา |
ภาควิชาพุทธศาสตร์ |
|
- สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา |
27 |
- สาขาวิชาพระพุทธศาสนา (เรือนจำ/ทัณฑสถาน) |
115 |
ภาควิชาปรัชญา |
|
- สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม |
19 |
ภาควิชาศาสนศาสตร์ |
|
- สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา |
9 |
- สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา |
23 |
รวมจำนวนทั้งสิ้น |
193 |
1.6.2 จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2565 สรุปได้ดังนี้
ภาควิชา/สาขาวิชา |
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา |
ภาควิชาพุทธศาสตร์ |
|
- สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา |
6 |
- สาขาวิชาพระพุทธศาสนา |
- |
ภาควิชาปรัชญา |
|
- สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม |
6 |
ภาควิชาศาสนศาสตร์ |
|
- สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา |
2 |
- สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา |
- |
รวมจำนวนทั้งสิ้น |
14 |
1.7 จำนวนอาจารย์และบุคลากร
1.7 จำนวนอาจารย์และบุคลากร
1.7.1 จำนวนอาจารย์
ที่ |
ชื่อ-ฉายา/นามสกุล |
ตำแหน่งทางวิชาการ |
วุฒิการศึกษา |
1 |
พระเทพวัชรเมธี, ผศ.ดร. |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
ปริญญาเอก |
2 |
พระศรีรัชมงคลบัณฑิต, รศ.ดร. |
รองศาสตราจารย์ |
ปริญญาเอก |
3 |
พระครูวินัยธร เจริญ ทนฺตจิตฺโต, ดร. |
อาจารย์ |
ปริญญาเอก |
4 |
พระครูสุธีปริยัติโกศล, ดร. |
อาจารย์ |
ปริญญาเอก |
5 |
พระมหาขนบ สหายปญฺโญ, ดร. |
อาจารย์ |
ปริญญาเอก |
6 |
พระมหาจักรพล อาจารสุโภ, ดร. |
อาจารย์ |
ปริญญาเอก |
7 |
พระมหาสันติราษฎร์ ฌานสนฺติ, ดร. |
อาจารย์ |
ปริญญาเอก |
8 |
พระมหาเอกชัย สุชโย |
อาจารย์ |
ปริญญาโท |
9 |
พระมหาวิชิต อคฺคชิโต |
อาจารย์ |
ปริญญาโท |
10 |
พระมหาสมศักดิ์ ธมฺมโชติโก |
อาจารย์ |
ปริญญาโท |
11 |
พระมหาสราวุธ าณโสภโณ |
อาจารย์ |
ปริญญาโท |
12 |
พระปลัด ธนา อคฺคธมฺโม |
อาจารย์ |
ปริญญาโท |
13 |
พระมหาอนันต์ อนุตฺตโร |
อาจารย์ |
ปริญญาโท |
14 |
พระปลัดบุญช่วย ฐิตจิตฺโต |
อาจารย์ |
ปริญญาโท |
15 |
พระครูสังฆรักษ์ สุริยะ ปภสฺสโร |
อาจารย์ |
ปริญญาโท |
16 |
พระมหาบุญประสิทธิ์ นาถปุญฺโญ |
อาจารย์ |
ปริญญาโท |
17 |
แม่ชีบุญช่วย ศรีเปรม, ดร. |
อาจารย์ |
ปริญญาเอก |
18 |
แม่ชีเนตรนภา สุทธิรัตน์, ดร. |
อาจารย์ |
ปริญญาเอก |
19 |
ผศ.ดร.แหวนทอง บุญคำ |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
ปริญญาเอก |
20 |
ดร.ปารินันท์ ปางทิพย์อำไพ |
อาจารย์ |
ปริญญาเอก |
21 |
ดร.สุรชัย พุดชู |
อาจารย์ |
ปริญญาเอก |
22 |
ดร.ประเวช วะทาแก้ว |
อาจารย์ |
ปริญญาเอก |
23 |
ดร.สิริพร ครองชีพ |
อาจารย์ |
ปริญญาเอก |
24 |
อาจารย์จันทิมา แสงแพร |
อาจารย์ |
ปริญญาโท |
25 |
อาจารย์อริสา สายศรีโกศล |
อาจารย์ |
ปริญญาโท |
1.7.2 จำนวนเจ้าหน้าที่
ที่ |
ชื่อ-ฉายา/นามสกุล |
ตำแหน่งทางวิชาการ |
วุฒิการศึกษา |
1 |
พระครูธรรม เดโช ฐิตเตโช |
นักวิชาการศึกษา |
ปริญญาโท |
2 |
นายประเมศฐ์ จิรวิริยะสิริ |
นักวิชาการศึกษา |
ปริญญาโท |
1.8 ข้อมูลพื้นฐานโดยย่อเกี่ยวกับงบประมาณ และอาคารสถานที่
1.8 ข้อมูลพื้นฐานโดยย่อเกี่ยวกับงบประมาณ และอาคารสถานที่
คณะศาสนาและปรัชญา ได้รับจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2565 ตามแผนงานพื้นฐาน ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ผู้สำเร็จการศึกษาด้านสังคมศาสตร์
สรุปได้ดังนี้
- เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายสนับสนุนการผลิตบัณฑิต
- เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
- เงินอุดหนุนทุนวิจัยพัฒนาการเรียนการสอน
- ค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ
โดยได้รับงบจัดสรรงบประมาณสนับสนุนในการดำเนินงานโครงการตามแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยได้กำหนดตามวิถี สรุปได้ดังนี้
วิถีที่ 1 ปริยัติ สืบสาน ส่งต่อ ต่อยอด
วิถีที่ 2 ประยุกต์ ผสาน สร้างสรรค์ อย่างลึกซึ้ง
วิถีที่ 3 ปฏิบัติ ค้นหา ตน เติม คน เสริมสร้าง สังคม
วิถีที่ 4 ปฏิบถ ฟื้นฟู เยียวยา นำพากลับสู่ความสว่าง สงบ
วิถีที่ 5 ปฏิรูป พลิก เปลี่ยน ปรับ รับการเปลี่ยนแปลง
สรุปงบประมาณประจำปีงบประมาณ 2565 ดังนี้
- ผู้สำเร็จการศึกษาด้านสังคมศาสตร์ จำนวน 1,915,205 บาท
- งบดำเนินงานก่อนผูกพัน จำนวน 619,795 บาท
รวมทั้งสิ้น จำนวน 2,535,000 บาท
1.9 เอกลักษณ์หรือวัฒนธรรมของสถาบัน
1.9. เอกลักษณ์หรือวัฒนธรรมของสถาบัน
1.9.1 เอกลักษณ์
บริการวิชาการพระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ การชี้นำ ป้องกัน หรือ แก้ปัญหาของสังคม 2 เรื่อง
1. ภายในมหาวิทยาลัย จิตสาธารณะ หรือจำสำนึกทางสังคม
2. ภายนอกมหาวิทยาลัย การนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและแนวพระราชดำรัสต่าง ๆ ไปใช้ในการแก้ปัญหาสังคม
1.9.2 อัตลักษณ์
บัณฑิตมีความรอบรู้ในหลักพระพุทธศาสนาและสามารถเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ
1.10 ตารางแสดงผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผลการประเมินปีที่ผ่านมา
ที่ | ข้อเสนอแนะกรรมการปีที่แล้ว | ความคิดเห็นของคณะ | ผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะกรรมการ |
---|---|---|---|
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต จุดที่ควรพัฒนา
|
1. คณบดีคณะศาสนาและปรัชญา ได้มอบนโยบายและแนวทางในการพัฒนาส่งเสริมอาจารย์ให้พิจารณาคุณสมบัติผู้มีสิทธิ์และคุณสมบัติที่สามารถขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการให้ดำเนินการขอตำแหน่งทางวิชาการ 2. คณะศาสนาและปรัชญา ได้เชิญเจ้าหน้าที่กองนโยบายและแผน เข้ามาให้ความรู้เกี่ยวการจัดทำแผนให้ตรงกับนโยบายของมหาวิทยาลัย | 1. ในปีการศึกษา 2565 ได้ผ่านกระบวนการสอบสอน เพื่อขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ จำนวน 3 รูป/คน ได้แก่ 1. พระมหาจักรพล อาจารสุโภ, ดร. 2. แม่ชีบุญช่วย ศรีเปรม, ดร. 3. ดร.สันติราษฎร์ พวงมลิ 2. ผู้ช่วยอธิการบดี นายทศพร จันทรมงคลเลิศ ได้มาอธิบายและกำหนดตัวชี้วัดและการเขียนแผนของคณะศาสนาและปรัชญาให้เชื่อมโยงกับแผนของมหาวิทยาลัย โดยมีการกำหนดตัวชีวัด และวัดความสำเร็จของแผน
|
|
องค์ประกอบที่ 2 งานวิจัย จุดที่ควรพัฒนา
|
1. คณบดีคณะศาสนาและปรัชญา ได้มอบนโยบายและแนวทางในการพัฒนาส่งเสริมอาจารย์ให้พิจารณาคุณสมบัติผู้มีสิทธิ์และคุณสมบัติที่สามารถขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการให้ดำเนินการขอตำแหน่งทางวิชาการ 2. คณบดีคณะศาสนาและปรัชญา มีนโยบายผลักดันให้เกิดงานวิจัยและการบริการวิชาการที่สามารถจดลิขสิทธิ์เพื่อสร้างคุณค่าของงานในคณะ/ชุมชน หน่วยงานให้เกิดขึ้น เนื่องจากมหาวิทยาลัยมีระบและกลไกในการส่งเสริมให้อาจารย์จดลิขสิทธิ์ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด | 1. ในปีการศึกษา 2565 ได้ผ่านกระบวนการสอบสอน เพื่อขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ จำนวน 3 รูป/คน ได้แก่ 1. พระมหาจักรพล อาจารสุโภ, ดร. 2. แม่ชีบุญช่วย ศรีเปรม, ดร. 3. ดร.สันติราษฎร์ พวงมลิ |
|
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ จุดที่ควรพัฒนา
|
1. ประชุมคณะกรรมการนำผลความพึงพอใจของผู้รับบริการมาทำการวิเคราะห์และมอบหมายให้ผู้ที่เกี่ยวข้องจัดทำแผนโครงการที่สามารถตอบโจทย์ชุมชนและผู้รับบริการ 2. คณะศาสนาและปรัชญา ได้พิจารณากำหนดการบริการวิชาการให้ครอบคลุมความเชื่อมโยงเพื่อสร้างเครือข่ายให้เข้มแข็งเพื่อพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน 3. ประชุม วิเคราะห์ แนวทาง การจัดทำโครงการให้ครอบคลุม เพื่อตอบโจทย์ผู้รับบริการ ให้สามารถก่อให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี รวมทั้งก่อให้เกิดกระบวนการทางความคิดทั้งของอาจารย์ นักศึกษา และผู้รับบริการเพิ่มมากขึ้น | 1. คณะศาสนาและปรัชญา ได้มีการพิจารณาโดยการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้รับบริการ คือ โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายและความร่วมมือเพื่อพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน |
|
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ข้อเสนอแนะ/ข้อสังเกตเพื่อการพัฒนา
|
2. คณบดีคณะศาสนาและปรัชญา ได้มีการประชุมทบทวนการจัดทำแผนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม โดยมีหนวยงานภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำแผนร่วมกันได้แก่ วัดนครอินทร์ | 2. คณะศาสนาและปรัชญา ได้ดำเนินการทบทวนแผนและบรรจุโครงการ คือ โครงการเทศน์มหาชาติ โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้พุทธศาสนิกชนเข้าร่วมเพื่อเรียนรู้และเข้าใจถึงความสำคัญแห่งการเทศน์มหาชาติฯ 2) เพื่ออนุรักษ์และสืบสานประเพณีเทศน์มหาชาติฯ ให้คงอยู่สืบไป |
|
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ จุดที่ควรพัฒนา
|
1. มหาวิทยาลัยมีระบบและกลไกในการวิเคราะห์และประเด็นความเสี่ยงข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้ระบบ e-port มาพิจารณาการบริหารจัดการพร้อมกับจัดทำแผนพัฒนาหลักสูตรและแผนพัฒนาคณะ เพื่อลดความเสี่ยงในการบริหารจัดการ
| 1. ระบบ e-port และแผนพัฒนาหลักสูตรและแผนพัฒนาคณะ |
สรุปผลการประเมิน
คณะศาสนาและปรัชญา
ปีการศึกษา 2565
|
|
|
|
|
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต | ||||
1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม |
|
|
|
|
1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก |
|
|
|
|
1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ |
|
|
|
|
1.4 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี |
|
|
|
|
1.5 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี |
|
|
|
|
1.6 การส่งเสริมสนับสนุน บัณฑิตปริญญาตรี มีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ด้านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสาร |
|
|
|
|
1.7 การส่งเสริมสนับสนุน ทักษะทางด้านพระพุทธศาสนาแก่นักศึกษา |
|
|
|
|
1.8 ร้อยละของผู้ที่สอบผ่านนักธรรมชั้นตรีหรือธรรมศึกษาชั้นตรีระดับอุดมศึกษา |
|
|
|
|
1.9 บัณฑิตปริญญาตรีมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์สอบผ่านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด | ไม่รับการประเมิน | |||
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต |
|
| ||
องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย | ||||
2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ |
|
|
|
|
2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ |
|
|
|
|
2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย |
|
|
|
|
2.4 ผลงานงานวิจัยและ/หรือนวัตกรรมที่พัฒนาปัญญาและคุณธรรม (Knowledge Contribution for Intellectual and Moral Development) |
|
|
|
|
2.5 บุคลากรที่มีบทบาทหรือผลงานที่ได้รับการอ้างอิง (Morality Role Model) |
|
|
|
|
2.6 ผลงานทางวิชาการที่เกิดจากความร่วมมือกับเครือข่าย (Knowledge Contribution from Intellectual and Moral Cultivation Network) |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 การวิจัย |
|
| ||
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ | ||||
3.1 ความเข้มแข็งของเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน (Collaboration Ecosystem for Sustainable Social Development) |
|
|
|
|
3.2 จำนวนหน่วยงานหรือองค์กรชุมชนเป้าหมาย ที่เป็นเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติอย่างต่อเนื่อง ตามแผนบริการวิชาการ |
|
|
|
|
3.3 งบประมาณ/ทรัพยากรวิจัยเพื่อการพัฒนาปัญญาและคุณธรรม (Funding for Knowledge Creation in Intellectual and Mortal Development) |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ |
|
| ||
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม | ||||
4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรม และพระพุทธศาสนา |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม |
|
| ||
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ | ||||
5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ |
|
|
|
|
5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ |
|
| ||
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (20 ตัวบ่งชี้) |
|
|
ผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบคุณภาพ
คณะศาสนาและปรัชญา
ปีการศึกษา 2565
องค์ประกอบที่ | จำนวนตัวบ่งชี้ | I | P | O | คะแนนเฉลี่ย | ผลการประเมิน 0.00-1.50 ระดับคุณภาพต้องปรับปรุงเร่งด่วน 1.51-2.50 ระดับคุณภาพต้องปรับปรุง 2.51-3.50 ระดับคุณภาพปานกลาง 3.51-4.50 ระดับคุณภาพดี 4.51-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก |
1 | 8 | 3.00 | 3.25 | 4.20 | 3.43 | ปานกลาง |
2 | 6 | 4.88 | 4.00 | 3.50 | 3.81 | ดี |
3 | 3 | - | 5.00 | 3.00 | 3.67 | ดี |
4 | 1 | - | 4.00 | - | 4.00 | ดี |
5 | 2 | - | 4.50 | - | 4.50 | ดี |
รวม | 20 | 3.63 | 3.89 | 3.55 | 3.71 | ดี |
ผลการประเมิน | ดี | ดี | ดี | ดี | ดี |
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ/วิทยาเขต/วิทยาลัยตามองค์ประกอบคุณภาพ ย้อนหลัง 3 ปี
ปีการศึกษา | องค์ประกอบที่ |
ค่าเฉลี่ยผลการประเมิน องค์ประกอบที่ 1-5 |
||||
---|---|---|---|---|---|---|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | ||
2562 | 3.61 | 2.67 | 3.00 | 3.00 | 4.50 | 3.44 |
2563 | 4.13 | 4.58 | 5.00 | 5.00 | 5.00 | 4.50 |
2564 | 4.14 | 5.00 | 5.00 | 5.00 | 5.00 | 4.60 |
2565 | 3.43 | 3.81 | 3.67 | 4.00 | 4.50 | 3.71 |
ข้อเสนอแนะ
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต
1.ควรสนับสนุนและส่งเสริมให้อาจารย์ผลิตผลงานวิชาการที่สอดคล้องกับสาขาวิชา และสามารถใช้ในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการได้
2.การให้ความรู้กับศิษย์เก่าควรเป็นการ up-skill หรือ re-skill ให้กับศิษย์เก่า
องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย
1. พิจารณาสัดส่วนผลงานวิจัย และผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำคณะ รวมทั้งควรวางแผนการทำผลงานวิชาการเพื่อการก้าวสู่ตำแหน่งวิชาการต่อไป/ทั้งนี้ควรสร้างผลงานทางวิชาการทั้งตำรา หนังสือ และบทความวิจัย เพื่อเข้าสู่การขอผลงานทางวิชาการ
2. พิจารณาประเด็นผลงานการวิจัยและการบริการวิชาการที่สามารถจดลิขสิทธิ์เพื่อสร้างคุณค่าของงานในคณะ/ชุมชนหน่วยงานเพิ่มขึ้น
3.คณะควรร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในการพัฒนาระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ
จุดเด่น
- มีการใช้คุณลักษณะและปรัชญาของคณะเพื่อทำการบริการวิชาการตามศาสตร์และตามความเชี่ยวชาญของอย่างเป็นรูปธรรม
จุดที่ควรพัฒนา:
- พิจารณาประเด็นของการนำผลความพึงพอใจของผู้รับบริการมาทำการวิเคราะห์โครงการที่สามารถพัฒนาให้ยั่งยืนและเข้มแข็งและควรมีการให้ความสำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมระหว่างคณะและผู้รับบริการต่อไป
- คณะอาจพิจารณากำหนดประเภทของงานบริการวิชาการให้ชัดเจน ในแผนบริการวิชาการ เช่น 1) โครงการตามความเชี่ยวชาญ 2) โครงการเพื่อสร้างชุมชนเข้มแข็ง และ 3) โครงการตามคำร้องขอ การนำเสนอในผลการดำเนินงานต้องแสดงตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายให้ชัดเจน รวมทั้งมีการประเมินความสำเร็จผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายและแสดงการมีส่วนร่วมในโครงการ/กิจกรรม ที่คณะมีส่วนร่วมโครงการ/กิจกรรม
- พิจารณาถอดบทเรียนและร่วมพิจารณาประเด็นการหาแนวทางการได้ประโยชน์ของผู้รับบริการเพื่อมาจัดทำแผนพัฒนาการบริการวิชาการสู่สังคมในด้านนวัตกรรมเพื่อสังคมและวัฒนธรรมที่จะสามารถก่อให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี รวมทั้งก่อให้เกิดกระบวนการทางความคิดทั้งของอาจารย์ นักศึกษา และผู้รับบริการเพิ่มมากขึ้น
- ควรวางแผน กำหนดเป้าหมาย เครือข่าย ดำเนินการตามแผน และประเมินผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ของแผนในการบริการวิชาการให้ชัดเจน เช่น โครงการวิทยบริการสอนพระพุทธศาสนาในเรือนจำ รวมทั้งนำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาผลการดำเนินงานในปีถัดไปเพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการบริการวิชาการร่วมกับเครือข่าย
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
ควรมีการกำกับติดตามให้มีการดำเนินงานและประเมินผลความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผนการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม รวมถึงการนำผลประเมินมาปรับปรุง
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ
1. พิจารณาความเสี่ยงเรื่องสัดส่วนการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์
2. ควรการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาช่วยในการบริหารจัดการ
3.พิจารณาการนำเครื่องมือการจัดการความรู้มาใช้ประโยชน์ในการจัดการความเสี่ยงด้านตำแหน่งวิชาการและจัดกลุ่มอาจารย์เพื่อเสริมสร้างการทำผลงานวิชาการต่อไปเพื่อให้ได้ผลลัพธ์เชิงประจักษ์
บทสัมภาษณ์
จุดเด่นของคณะ คือ
1. คณาจารย์มีความรู้ในสาขาวิชาที่ลึกซึ้ง และนอกเหนือจากตำรา สามารถให้ความรู้ในเชิงการคิดวิเคราะห์แก่นักศึกษาได้มากกว่าการอ่านจากหนังสือหรือตำรา
2. สวัสดิการของนักศึกษา เช่น ทุนการศึกษา การดูแลอย่างเป็นระบบ
3. ปลูกฝังให้นักศึกษามีคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งจะช่วยให้การทำงานราบรื่น ไม่มีความขัดแย้ง
จุดที่ควรพัฒนา คือ
1. การปรับปรุงเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีความทันสมัย สามารถที่จะใช้สืบค้นความรู้เพื่อการศึกษาได้มากขึ้น
2. การประชาสัมพันธ์ของคณะ และมหาวิทยาลัยยังด้อยกว่าที่อื่น ควรใช้เทคโนโลยีหรือผู้ที่มีความเชี่ยวชาญเข้ามาช่วยในการประชาสัมพันธ์ เช่น Tik Tok, facebook
3. ควรมีการทำ MOU กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่เรียน เพื่อเป็นแรงจูงใจในการเข้ามาเรียน และเป็นการช่วยเหลือให้นักศึกษาสามารถสอบเข้าหรือสอบบรรจุในงาน