
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ/วิทยาเขต/วิทยาลัย ปีการศึกษา 2565
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
บทสรุปผู้บริหาร
จากการดำเนินงานของวิทยาเขตศรีธรรมาโศกราชหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาที่อยู่ในกลุ่ม ค.2 (สถาบันเฉพาะทางที่เน้นระดับปริญญาตรี) ได้คะแนนการประเมินตนเอง 3.70 อยู่ที่ระดับดี โดยมีรายละเอียดผลการดำเนินงานทั้ง 5 องค์ประกอบดังนี้
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีระบบและกลไกการเปิดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กำหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษาและดำเนินการตามระบบที่กำหนดให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา และเพื่อให้การบริหารงานด้านวิชาการดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งวิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 1 นี้เท่ากับ 4.18 อยู่ในระดับ ดี
องค์ประกอบที่ 2 งานวิจัย มหาวิทยาลัยมีการจัดตั้งสถาบันวิจัยญาณสังวรเพื่อวางนโยบายและแผนยุทธศาสตร์งานวิจัย โดยจัดสรรงบประมาณของมหาวิทยาลัยเพื่อเป็นทุนวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ทางวิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีการส่งเสริมการทำวิจัยของอาจารย์ และอาจารย์ผู้สอนมีความสนใจเรื่องการทำวิจัย ดังมีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 2 นี้เท่ากับ 3.25 อยู่ในระดับ ปานกลาง
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีการจัดโครงการบริการทางวิชาการแก่สังคม แต่โครงการมีการบูรณาการในเรื่องของการวิจัย ดังนั้น เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนและสังคม วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย จึงมีการวางแผนการจัดทำโครงการให้บูรณาการกับการเรียนการสอนในปีการศึกษาต่อไป และผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 3 นี้เท่ากับ 2.67 อยู่ในระดับ ปานกลาง
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีนโยบายและแนวทางการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมมีโครงการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษาและสรุปการดำเนินงานโครงการด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 4 นี้เท่ากับ 3.00 อยู่ในระดับ ปานกลาง
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช วิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีทิศทางการดำเนินงานและสามารถถ่ายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ และให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการโดยมีสภามหาวิทยาลัยทำหน้าที่ในการกำกับดูแลการทำงานให้มีประสิทธิภาพ และต้องบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ให้มีคุณภาพ เช่น ทรัพยากรบุคล ระบบฐานข้อมูล การบริหารความเสี่ยง การบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารทรัพยากรทั้งหมด ที่เกี่ยวข้อง วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 5 นี้เท่ากับ 5.00 อยู่ในระดับดีมาก
บทนำ
1.1 ชื่อหน่วยงาน ที่ตั้ง และประวัติความเป็นมาโดยย่อ
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช ตั้งอยู่เลขที่ 128 หมู่ที่ 6 ตำบลนาพรุ อำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000 โทร. 075-809128-9 | http://www.ssc.mbu.ac.th
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย (มมร) เป็นสถาบันการศึกษา ที่ตั้งขึ้นโดยพระบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2436 ครั้นต่อมาในปี พ.ศ. 2489 ได้จัดการศึกษาในรูปมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาเรียกชื่อว่า “สภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย” โดยวัตถุประสงค์ตามที่สมเด็จมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงตั้งไว้ 3 ประการ คือ
(1) เพื่อเป็นสถานศึกษาพระปริยัติธรรมของพระสงฆ์
(2) เพื่อเป็นสถานศึกษาวิทยา ซึ่งเป็นของชาติภูมิและต่างประเทศแห่งกุลบุตรทั้งหลาย
(3) เพื่อเป็นสถานที่จัดสั่งสอนพระพุทธศาสนา
จนถึง ในปี พ.ศ. 2540 รัฐบาลได้ตราพระราชบัญญัติ “มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย” ให้เป็น มหาวิทยาลัยของรัฐเป็นนิติบุคคล (มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ) เป็นสถานศึกษาและวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้การศึกษา วิจัย ส่งเสริม และให้บริการวิชาการพรุทธศาสนาแก่ภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์ รวมถึงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ปัจจุบันมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ได้ขยายการศึกษาออกไปเปิดวิทยาเขต ในส่วนภูมิภาค รวม 7 วิทยาเขต 3 วิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช ได้ก่อตั้งและเปิดดำเนินการจัดการเรียนการสอนมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 มีสถานที่ตั้งอยู่ภายในวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งวิทยาเขตแห่งนี้ได้ดำเนินการก่อตั้งโดย พระธรรมรัตโนภาส (ประดับ โอภาโส) อดีตเจ้าอาวาสวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร อดีตเจ้าคณะจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) ได้เล็งเห็นว่า มีพระภิกษุ-สามเณรในส่วนภูมิภาคเป็นจำนวนมาก ที่มีความประสงค์จะศึกษาเล่าเรียนในระดับอุดมศึกษา แต่ไม่สามารถเข้าไปศึกษาเล่าเรียนในกรุงเทพมหานครได้ เนื่องจากข้อจำกัด เรื่องการหาที่พักอาศัยในกรุงเทพฯ ได้นั้นค่อนข้างลำบาก จึงได้ขอขยายวิทยาเขตออกมาตั้ง ณ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราชอันเป็นเมืองศูนย์กลางของภาคใต้ และได้นำเอาพระนามของพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช ปฐมกษัตริย์ของเมืองนครศรีธรรมราชในอดีต และทรงเป็นผู้สร้างพระบรมธาตุเจดีย์อันเป็นปูชนียสถานสำคัญของจังหวัดนครศรีธรรมราช มาเป็นชื่อของวิทยาเขตเพื่อเป็นมงคลนาม ซึ่งทางมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ได้อนุมัติให้จัดตั้งเป็นวิทยาเขตเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2535 ตามคำสั่งสภาการศึกษามหาวิทยาลัย ที่ 26/2535
เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2554 วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช ได้ย้ายสถานที่ทำการเรียนการสอนไปยังอาคารเรียน ภายในวัดป่าห้วยพระ หมู่ที่ 5 ตำบลนาพรุ อำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช เนื่องจากสถานที่ตั้งของวิทยาเขตศรีธรรมาโศกราชภายในวัดป่าห้วยพระ อยู่ห่างไกลจากตัวเมือง และมีความยากลำบากในการเดินทางของนักศึกษา พระเทพปริยัติวิมล อธิการบดีในสมัยนั้น ได้มอบนโยบายว่าสถานที่ตั้งของวิทยาเขตควรอยู่ในทำเลที่เหมาะสม คณะผู้บริหารวิทยาเขตจึงได้เสนอโครงการขออนุมัติจัดซื้อที่ดินเพื่อขยายวิทยาเขต ในปี พ.ศ. 2555 และเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2564ได้ย้ายสถานที่ทำการเรียนการสอนมาที่แห่งใหม่ ตั้งอยู่เลขที่ 128 หมู่ที่ 6 ตำบลนาพรุ อำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช และในปี พ.ศ. 2565 วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราชได้เปิดทำการเรียนการสอนครบรอบ 30 ปี โดยเปิดทำการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ซึ่งได้ผลิตบัณฑิตออกไปรับใช้พระพุทธศาสนาและสังคมมาแล้วเป็นจำนวนมาก
1.2 ปรัชญา ปณิธาน เป้าหมายและวัตถุประสงค์
ปรัชญา
ความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนา (Academic Excellence based on Buddhism)
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มุ่งที่จะผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ดีทั้งทางโลกและทางธรรม มีความสามารถในการคิดเป็น พูดเป็น ทำเป็น มีคุณธรรมประจำกาย วาจา ใจ มีอุดมคติและอุดมการณ์ มุ่งอุทิศชีวิตบำเพ็ญประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ผู้อื่น
ปณิธาน
มีความมุ่งมั่นที่จะผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพโดยให้มีความรู้ดีทั้งทางโลกและทางธรรมมีความสามารถดีในการคิดเป็นพูดเป็นทำเป็นมีคุณธรรมและจริยธรรมประจำกายวาจาใจมีอุดมคติและมีอุดมการณ์มุ่งอุทิศชีวิตบำเพ็ญประโยชน์ตนและผู้อื่นเพื่อให้บัณฑิตเข้าใจโลกและชีวิตอย่างลึกซึ้งสามารถดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างราบรื่นและเป็นปกติสุข
วิสัยทัศน์
1) วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราชจะมุ่งพัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องมีระบบบริหารจัดการและระบบประกันคุณภาพที่ดีสามารถให้ความเชื่อมั่นแก่สังคมได้ว่ามหาวิทยาลัยในฐานะเป็นสถาบันอุดมศึกษาได้ปฏิบัติหน้าที่ตามพันธกิจของมหาวิทยาลัยอย่างมีคุณภาพและทันสมัย
2) เป็นสถาบันการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน ที่มุ่งผลิตบัณฑิตตามแนวทางพระพุทธศาสนาให้มีความรู้ความสามารถและมีศีลธรรมในการดำรงชีวิตแบบพุทธ
3) เป็นสถาบันที่ดำรงคุณค่าและอุดมการณ์ของการเป็นประชาคมแห่งการสร้างสรรค์และสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น และเพื่อนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาพัฒนาสังคมและประเทศชาติ
4) จะมุ่งมั่นพัฒนาสถาบันให้มีการทำวิจัยเชิงลึกด้านพระพุทธศาสนาเพื่อนำผลการวิจัยไปพัฒนาสังคมและคณะสงฆ์ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ
พันธกิจ
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช มีภารกิจที่จะต้องพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาบันอย่างมีระบบและต่อเนื่องตลอดจนเผยแพร่รายงานเกี่ยวกับคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยแก่สาธารณชนทั้งนี้โดยให้สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยนโยบายของทบวง มหาวิทยาลัยและเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดยมีพันธกิจดังต่อไปนี้
1) พัฒนากระบวนการผลิตบัณฑิตของวิทยาเขตฯ ให้มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของสาธารณชน
2) ปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาบันอย่างต่อเนื่อง
3) การถ่ายทอดและมีการบริการทางวิชาการแก่ชุมชนในท้องถิ่นเพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ
4) แสวงหาความร่วมมือด้านต่างๆจากสถาบันอุดมศึกษาในท้องถิ่นเพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ
5) ส่งเสริมการวิจัยและการพัฒนางานวิชาการเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ทางด้านวิชาการพระพุทธศาสนาให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจสังคมการเมืองและความต้องการของท้องถิ่น
1.3 โครงสร้างองค์กร และโครงสร้างการบริหาร
การจัดรูปแบบการบริหารมหาวิทยาลัย เป็นการจัดตามความในมาตราที่เกี่ยวข้องในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. 2540 และเป็นการจัดตามรูปแบบของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐตามความในมาตรา 48 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. 2540 ที่กำหนดให้รัฐมนตรี (กระทรวงศึกษาธิการ) มีอำนาจและหน้าที่กำกับดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของมหาวิทยาลัยให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ในมาตราที่ 6 คือ “วัตถุประสงค์ให้การศึกษา วิจัยส่งเสริม และการให้บริการทางพระพุทธศาสนา แก่พระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์ รวมทั้งการบำรุงศิลปวัฒนธรรม” การจัดโครงสร้างและระบบการบริหารมหาวิทยาลัย ในแต่ละหน่วยงานหรือองค์กรมีความสอดคล้องกับพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. 2540 ตามความในมาตรานั้นๆ โดยอาจจำแนกองค์กรหรือหน่วยงานหลักๆ ได้ดังนี้
1.4 รายชื่อผู้บริหาร กรรมการบริหาร
คำสั่งสภามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ที่ 22/2563 (25 ธันวาคม 2563) เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการประจำวิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช |
||
1. |
รองอธิการบดีวิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช |
ประธานกรรมการ |
2. |
ผู้ช่วยอธิการบดี วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช |
กรรมการ |
3. |
ผู้อำนวยการสำนักงานวิทยาเขต ในวิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช |
กรรมการ |
4. |
ผู้อำนวยการศูนย์บริการวิชาการ ศรีธรรมาโศกราช |
กรรมการ |
5. |
ผู้อำนวยวิทยาลัยศาสนศาสตร์ศรีธรรมาโศกราช |
กรรมการ |
6. |
รองศาสตราจารย์ ดร.กันตภณ หนูทองแก้ว |
กรรมการ |
7. |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทิพมาศ เศวตวรโชติ |
กรรมการ |
8. |
ดร.สันติ อุนจะนำ |
กรรมการ |
1.5 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน
ปีการศึกษา 2565 วิทยาเขตศรีธรรมราชเปิดทำการเรียนการสอน จำนวน 10 สาขาวิชา ได้แก่
คณะ/สาขาวิชา |
จำนวนหลักสูตร |
|||
ปริญญาตรี |
ปริญญาโท |
ปริญญาเอก |
รวม |
|
คณะศาสนาและปรัชญา |
|
|
|
|
- สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา |
1 |
1 |
- |
2 |
คณะศึกษาศาสตร์ |
|
|
|
|
- สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา |
1 |
- |
- |
1 |
- สาขาการบริหารการศึกษา |
|
1 |
1 |
2 |
คณะสังคมศาสตร์ |
|
|
|
|
- สาขาวิชาการปกครอง |
1 |
- |
- |
1 |
- สาขาวิชาสังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์ |
|
1 |
1 |
2 |
- รัฐศาสตร์ |
|
1 |
1 |
2 |
รวม |
3 |
4 |
3 |
10 |
1. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562)
ชื่อภาษาไทย : ศิลปะศาสตรบัณฑิต (พุทธศาตร์เพื่อการพัฒนา)
ชื่อย่อไทย : ศศ.บ. (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts (Buddhist Studies for Development)
ชื่อย่ออังกฤษ : B.A. (Buddhist Studies for Development)
2. หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563)
ชื่อภาษาไทย : รัฐศาสตรบัณฑิต (การปกครอง)
ชื่อย่อไทย : ร.บ. (การปกครอง)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Political Science Program in Government
ชื่อย่ออังกฤษ : B.Pol.Sc. (Government)
3. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2562)
ชื่อภาษาไทย : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การสอนสังคมศึกษา)
ชื่อย่อไทย : ศษ.บ. (การสอนสังคมศึกษา)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education (Teaching Social Studies)
ชื่อย่ออังกฤษ : B.Ed. (Teaching Social Studies)
4. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2564)
ชื่อภาษาไทย : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
ชื่อย่อไทย : ศศ.ม. (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Master of Arts (Buddhist Studies for Development)
ชื่อย่ออังกฤษ : M.A. (Buddhist Studies for Development)
5. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2562)
ชื่อภาษาไทย : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์)
ชื่อย่อไทย : ศศ.ม. (สังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Master of Arts (Buddhistic Sociology)
ชื่อย่ออังกฤษ : M.A. (Buddhistic Sociology)
6. หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563)
ชื่อภาษาไทย : ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา)
ชื่อย่อไทย : ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Master of Education (Educational Administration)
ชื่อย่ออังกฤษ : M.Ed. (Educational Administration)
7. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2562)
ชื่อภาษาไทย : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์)
ชื่อย่อไทย : ปร.ด. (สังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy (Buddhistic Sociology)
ชื่อย่ออังกฤษ : Ph.D. (Buddhistic Sociology)
8. หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563)
ชื่อภาษาไทย : ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การบริหารการศึกษา)
ชื่อย่อไทย : ศษ.ด. (การบริหารการศึกษา)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Doctor of Education (Educational Administration)
ชื่อย่ออังกฤษ : Ed.D. (Educational Administration)
9. หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
ชื่อภาษาไทย : รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
ชื่อย่อไทย : ร.ม.
ชื่อภาษาอังกฤษ : Master of Political Science
ชื่อย่ออังกฤษ : M.Pol.Sc.
10. หลักสูตรรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
ชื่อภาษาไทย : รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต
ชื่อย่อไทย : ร.ด.
ชื่อภาษาอังกฤษ : Doctor of Political Science
ชื่อย่ออังกฤษ : D.Pol.Sc.
1.6 จำนวนนักศึกษา
จำนวนนักศึกษา ปีการศึกษา 2565
ในปีการศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช มีนักศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 632 รูป/คน โดยแบ่งเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน 414 รูป/คน (ร้อยละ 65.67) เป็นนักศึกษาระดับปริญญาโท จำนวน 149 รูป/คน (ร้อยละ 23.58) และเป็นนักศึกษาระดับปริญญาเอก 68 รูป/คน (ร้อยละ 10.76) จำแนกดังต่อไปนี้
คณะ / สาขาวิชา |
จำนวนนักศึกษา |
รวม ทั้งหมด |
|||||
ปริญญาตรี |
ปริญญาโท |
ปริญญาเอก |
|||||
บรรพชิต |
คฤหัสถ์ |
บรรพชิต |
คฤหัสถ์ |
บรรพชิต |
คฤหัสถ์ |
||
คณะศาสนาและปรัชญา |
|
|
|
|
|
|
|
- สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา |
23 |
11 |
16 |
13 |
- |
- |
63 |
คณะศึกษาศาสตร์ |
|
|
|
|
|
|
|
- สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา |
10 |
33 |
- |
- |
- |
- |
43 |
- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา |
- |
- |
- |
55 |
1 |
35 |
91 |
คณะสังคมศาสตร์ |
|
|
|
|
|
|
|
- สาขาวิชาการปกครอง |
47 |
291 |
- |
- |
- |
- |
338 |
- สาขาวิชาสังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์ |
- |
- |
0 |
0 |
4 |
5 |
9 |
- รัฐศาสตร์ |
- |
- |
14 |
51 |
3 |
20 |
88 |
รวมทั้งหมด |
80 |
335 |
30 |
119 |
8 |
60 |
632 |
จำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2565
ในปีการศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช มีนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาการปกครอง จำนวน 44 รูป/คน ระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์ ปริญญาโท จำนวน 5 รูป/คน และปริญญาเอก จำนวน 2 รูป/คน รวมทั้งหมด 51 รูป/คน จำแนกดังต่อไปนี้
คณะ / สาขาวิชา |
สำเร็จการศึกษา 2565 |
||
บรรพชิต |
คฤหัสถ์ |
รวม |
|
คณะสังคมศาสตร์ |
|
|
|
- สาขาวิชาการปกครอง |
13 |
31 |
44 |
- สาขาสังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์ (โท) |
2 |
3 |
5 |
- สาขาสังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์ (เอก) |
- |
2 |
2 |
รวม |
15 |
36 |
51 |
1.7 จำนวนอาจารย์และบุคลากร
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช มีบุคลากรทั้งหมด 61 รูป/คน
โดยแบ่งเป็นสายวิชาการ จำนวน 36 รูป/คน มีคุณวุฒิระดับปริญญาโท 16 รูป/คน (ร้อยละ 44.44) และมีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก 20 รูป/คน (ร้อยละ 55.56) แบ่งตามตำแหน่งทางวิชาการ มีตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 5 รูป/คน (ร้อยละ 13.89) และมีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 3 รูป/คน (ร้อยละ 8.33)
และแบ่งเป็นบุคลการสายสนับสนุน จำนวน 25 รูป/คน มีวุฒิปริญญาตรี 9 รูป/คน (ร้อยละ 36.00) และมีวุฒิระดับปริญญาโท 16 รูป/คน (ร้อยละ 64.00) ดังตารางรายละเอียดต่อไปนี้
ประเภท |
ระดับการศึกษา |
รวม |
||
ปริญญาเอก |
ปริญญาโท |
ปริญญาตรี |
||
ผู้บริหารระดับสูง |
1 |
- |
- |
1 |
ผู้บริหารระดับกลาง |
4 |
- |
- |
4 |
อาจารย์ |
|
|
|
|
- อาจารย์ประจำ |
7 |
4 |
- |
11 |
- อาจารย์พิเศษประจำ |
8 |
12 |
|
20 |
เจ้าหน้าที่สายสนับสนุน |
|
|
|
|
- ประจำ |
|
11 |
4 |
15 |
- สัญญาจ้าง |
|
5 |
5 |
10 |
รวม |
20 |
32 |
9 |
61 |
1.7.1 บุคลากรสายวิชาการ
ที่ |
ชื่อ-นามสกุล |
ตำแหน่ง |
วุฒิการศึกษา |
ตำแหน่งทางวิชาการ |
||||
ตรี |
โท |
เอก |
ผศ. |
รศ. |
ศ. |
|||
1 |
พระครูสิริธรรมาภิรัต, ผศ.ดร. |
รองอธิการบดี |
|
|
ü |
ü |
|
|
2 |
พระมหาวิชาญ กนฺตสีโล, ดร. |
ผอ.การสำนักงานวิทยาเขต |
|
|
ü |
|
|
|
3 |
พระครูบวรชัยวัฒน์ เมธิโก, ดร. |
ผอ.วิทยาลัยศาสนศาสตร์ |
|
|
ü |
|
|
|
4 |
พระมหาเอกกวิน ปิยวีโร, ดร. |
ผอ.ศูนย์บริการวิชาการ |
|
|
ü |
|
|
|
5 |
รศ.ดร.เดชชาติ ตรีทรัพย์ |
ผู้ช่วยอธิการบดี |
|
|
ü |
|
ü |
|
6 |
พระราชวิสุทธิกวี |
อาจารย์ประจำ |
|
ü |
|
|
|
|
7 |
พระครูธรรมจักรเจติยาภิบาล |
อาจารย์ประจำ |
|
ü |
|
|
|
|
8 |
ดร.สันติ อุนจะนำ |
อาจารย์ประจำ |
|
|
ü |
|
|
|
9 |
ผศ.ดร.ทิพมาศ เศวตวรโชติ |
อาจารย์ประจำ |
|
|
ü |
ü |
|
|
10 |
นายธีรักษ์ หนูทองแก้ว |
อาจารย์ประจำ |
|
ü |
|
|
|
|
11 |
รศ.ดร.กันตภณ หนูทองแก้ว |
อาจารย์ประจำ |
|
|
ü |
|
ü |
|
12 |
ดร.บุญส่ง ทองเอียง |
อาจารย์ประจำ |
|
|
ü |
|
|
|
13 |
ผศ.ดร.ปัณณพงศ์ วงศ์ณาศรี |
อาจารย์ประจำ |
|
|
ü |
ü |
|
|
14 |
ดร.สุปรีชา ชำนาญพุฒิพร |
อาจารย์ประจำ |
|
|
ü |
|
|
|
15 |
นางจินตนา กะตากูล |
อาจารย์ประจำ |
|
ü |
|
|
|
|
16 |
ดร.วชิรวิชญ์ อิทธิธนาศูภวิชญ์ |
อาจารย์ประจำ |
|
|
ü |
|
|
|
17 |
พระครูปริยัติวุฒิธาดา |
อาจารย์พิเศษประจำ |
|
ü |
|
|
|
|
18 |
พระมหาประทิ่น เขมจารี |
อาจารย์พิเศษประจำ |
|
ü |
|
|
|
|
19 |
พระปลัดวิสุทธิ์ศรี นนฺทชโย, ดร. |
อาจารย์พิเศษประจำ |
|
|
ü |
|
|
|
20 |
พระปลัดสุริยา อาภาโค |
อาจารย์พิเศษประจำ |
|
ü |
|
|
|
|
21 |
พระมหาโยธิน มหาวีโร |
อาจารย์พิเศษประจำ |
|
ü |
|
|
|
|
22 |
พระปลัดไพโรจน์ อตุโล |
อาจารย์พิเศษประจำ |
|
ü |
|
|
|
|
23 |
พระอนุรักษ์ อนุรกฺขิโต, ดร. |
อาจารย์พิเศษประจำ |
|
|
ü |
|
|
|
24 |
พระครูวินัยธรอธิษฐ์ สุวฑฺโฒ, ดร. |
อาจารย์พิเศษประจำ |
|
|
ü |
|
|
|
25 |
พระครูวินัยวุฒิชัย ชยธมฺโม, ดร. |
อาจารย์พิเศษประจำ |
|
|
ü |
|
|
|
26 |
พระมหาอดิศักดิ์ คเวสโก |
อาจารย์พิเศษประจำ |
|
ü |
|
|
|
|
27 |
รศ.สมเกียรติ ตันสกุล |
อาจารย์พิเศษประจำ |
|
ü |
|
|
ü |
|
28 |
ผศ.ดร.เกศริน มนูญผล |
อาจารย์พิเศษประจำ |
|
|
ü |
ü |
|
|
29 |
ผศ.ดร.สรัญญา แสงอัมพร |
อาจารย์พิเศษประจำ |
|
|
ü |
ü |
|
|
30 |
ดร.สิทธิพงษ์ สิทธิภัทรประภา |
อาจารย์พิเศษประจำ |
|
|
ü |
|
|
|
31 |
นายเอกชัย แซ่ลิ้ม |
อาจารย์พิเศษประจำ |
|
ü |
|
|
|
|
32 |
ดร.สุภัทรา ภูษิตรัตนาวลี |
อาจารย์พิเศษประจำ |
|
|
ü |
|
|
|
33 |
นางสาวจิรวัฒนา พุ่มด้วง |
อาจารย์พิเศษประจำ |
|
ü |
|
|
|
|
34 |
นายแสงสุรีย์ ทองขาว |
อาจารย์พิเศษประจำ |
|
ü |
|
|
|
|
35 |
นางสาวปรรณพัชญ์ จิตร์จำนงค์ |
อาจารย์พิเศษประจำ |
|
ü |
|
|
|
|
36 |
นายธเนศ นกเพชร |
อาจารย์พิเศษประจำ |
|
ü |
|
|
|
|
1.7.2 บุคลากรสายสนับสนุน
ที่ |
ชื่อ-นามสกุล/ฉายา |
ตำแหน่ง |
ตรี |
โท |
37 |
นางจิตรา อุนจะนำ |
เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน |
|
ü |
38 |
นายวิทยา ระน้อมบำรุง |
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป |
ü |
|
39 |
นายประเสริฐ เนาวพล |
นักวิชาการฝ่ายพัสดุ |
|
ü |
40 |
นายมนต์ชัย ทองสม |
นักวิชาการการเงินและบัญชี |
|
ü |
41 |
นายชุติเดช สุวรรณมณี |
เจ้าหน้าที่ทะเบียนและวัดผล |
|
ü |
42 |
นางกุสุมา ทองเอียง |
นักวิชาการการเงินและบัญชี |
|
ü |
43 |
นางสาวสุฑารัตน์ บุญมี |
บรรณารักษ์ |
|
ü |
44 |
นางสาวสุทธิดาลักษมี ปิยภัทร์มงคล |
นักวิชาการการเงินและบัญชี |
|
ü |
45 |
นายภาควัฒ ปล้องสุวรรณ |
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป |
|
ü |
46 |
นางสาวปิยารัตน์ นาคพุ่ม |
นักวิชาการการเงินและบัญชี |
ü |
|
47 |
นายจิรพัฒน์ เผือแก้ว |
เจ้าหน้าที่ประกันคุณภาพการศึกษา |
|
ü |
48 |
นางสาวหฤทัย วิเศษ |
นักวิชาการศึกษา |
|
ü |
49 |
นายศราวุธ สิทธาอภิรักษ์ |
นักทรัพยากรบุคคล |
|
ü |
50 |
นายจันทร์ทอง พิชคุณ |
นักการ |
ü |
|
51 |
นายเชาวลิต ระน้อมบำรุง |
พนักงานขับรถ |
ü |
|
52 |
นายเทียน ศรีลา |
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป (โสตและทัศนูปกรณ์) |
ü |
|
53 |
นางจิราพร อุไรกุล |
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป (บัณฑิตวิทยาลัย) |
|
ü |
54 |
นายศุภกฤต คงแป้น |
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป (ผู้ช่วยฝ่ายพัสดุ) |
ü |
|
55 |
นางสาวละออง สิทธิฤกษ์ |
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป (กิจการนักศึกษา) |
ü |
|
56 |
นายสราวุธ ธรนิล |
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป (พระสอนศีลธรรมฯ) |
ü |
|
57 |
นายสมพร เกื้อสงค์ |
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป |
|
ü |
58 |
นางสาวภัสราภรณ์ นวลวัฒน์ |
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป |
|
ü |
59 |
นางสาวจิราภรณ์ ชูชำนาญ |
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป |
|
ü |
60 |
นายญาณภัทร คงจันทร์ |
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป |
ü |
|
61 |
นายวิศรุตม์ คงจันทร์ |
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป (นักการ) |
|
ü |
ที่มา : ฝ่ายบุคคล
1.8 ข้อมูลพื้นฐานโดยย่อเกี่ยวกับงบประมาณ และอาคารสถานที่
งบประมาณที่ได้รับการจัดสรร ประจำปีงบประมาณ 2566
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช ได้รับการจัดสรรงบประมาณทั้งหมด 54,384,200 บาท จำแนกตามประเภท
ที่ |
แผนงบประมาณ |
งบประมาณ |
รวม |
|
งบประมาณ |
งบรายได้ |
|||
1 |
งบกลาง |
- |
|
|
2 |
งบบุคลากร |
- |
8,454,400 |
8,454,400 |
3 |
งบดำเนินงาน |
2,000,000 |
6,188,200 |
8,188,200 |
4 |
งบรายจ่ายลงทุน |
33,437,600 |
- |
33,437,600 |
5 |
งบรายจ่ายเงินอุดหนุนศูนย์การศึกษา |
800,000 |
- |
800,000 |
6 |
เงินอุดหนุนตามวิถี |
|
|
|
|
วิถีที่ 1 ปริยัติ สืบสาน ส่งต่อ ต่อยอด |
2,194,000 |
260,000- |
2,194,000 |
|
วิถีที่ 2 ประยุกต์ ผสาน สร้างสรรค์อย่างลึกซึ้ง |
350,000 |
- |
350,000 |
|
วิถีที่ 3 ปฏิบัติ ค้นหา ตน เติม คน เสริมสร้าง สังคม |
300,000 |
- |
300,000 |
|
วิถีที่ 4 ปฏิบถ ฟื้นฟู เยียวยา นำกลับสู่ความสว่าง |
|
- |
|
|
วิถีที่ 5 ปฏิรูป พลิก เปลี่ยน ปรับ รับการเปลี่ยนแปลง |
400,000 |
- |
400,000 |
7 |
เงินอุดหนุนวิจัย |
- |
- |
- |
|
รวม |
39,481,600 |
14,902,600 |
54,384,200 |
1.8.2 แผนงาน-โครงการ และงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร ประจำปีงบประมาณ 2566
ที่ |
แผนงาน-โครงการ |
งบประมาณ |
|
วิถีที่ 1 ปริยัติ สืบสาน ส่งต่อ ต่อยอด |
|
|
1.2 โครงการ พัฒนาพุทธปัญญาแก่พลเมืองโลก |
2,194,000 |
1 |
โครงการสัปดาห์มหามกุฏวิชาการเพื่อพัฒนาปัญญาและศีลธรรม |
310,000 |
กิจกรรมที่ 1 การฝึกอบรมทักษะวิชาการที่จำเป็นในยุคดิจิตัล |
30,000 |
|
กิจกรรมที่ 2 นิทรรศการวิชาการ |
100,000 |
|
กิจกรรมที่ 3 การเผยแพร่ความรู้คู่คุณธรรมผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ |
50,000 |
|
กิจกรรมที่ 4 มอบรางวัลคนดีศรีมหามกุฏ |
30000 |
|
กิจกรรมที่ 5 การสร้างเครือข่ายและสานสัมพันธ์พี่น้องปันสุข |
100000 |
|
2 |
โครงการพัฒนาคุณภาพนักศึกษาในศตวรรษที่ 21 |
480,000 |
กิจกรรมที่ 1 ไหว้ครู |
100,000 |
|
กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ให้กับนักศึกษา |
30000 |
|
กิจกรรมที่ 3 การเตรียมความพร้อมก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
30,000 |
|
กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมปัจฉิมนิเทศการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
30,000 |
|
กิจกรรมที่ 5 การพัฒนาทักษะการเรียนและการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย |
30,000 |
|
กิจกรรมที่ 6 การพัฒนาศักยภาพและทักษะการเรียนรู้ให้กับนักศึกษา |
30,000 |
|
กิจกรรมที่ 7 การเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาเพื่อก้าวสู่โลกอาชีพ |
30,000 |
|
|
กิจกรรมที่ 8 กีฬาสานสัมพันธ์ มมร. |
100,000 |
|
กิจกรรมที่ 9 ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ |
100,000 |
3 |
โครงการพัฒนาทักษะวิชาการและทักษะวิชาชีพให้เป็นบัณฑิตที่สมบูรณ์ |
350,000 |
|
กิจกรรมที่ 1 การสัมมนาวิชาการหลักสูตรการสอนสังคมศึกษา |
70,000 |
|
กิจกรรมที่ 2 การสัมมนาวิชาการหลักสูตรด้านพุทธศาสนาและปรัชญา |
70,000 |
|
กิจกรรมที่ 3 การสัมมนาวิชาการหลักสูตรด้านรัฐศาสตร์ |
70,000 |
|
กิจกรรมที่ 4 การสัมมนาวิชาการด้านการบริหารการศึกษา |
70,000 |
|
กิจกรรมที่ 5 การสัมมนาวิชาการด้านสังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์ |
70,000 |
4 |
โครงการอบรมคุณธรรมจริยธรรมให้นักศึกษา |
174,000 |
|
กิจกรรมที่ 1 การอบรมจิตใจและพัฒนาปัญญาและไหว้พระสวดมนต์ประจำสัปดาห์ |
24,000 |
|
กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาจิตปัญญาสำหรับนักศึกษา |
50000 |
|
กิจกรรมที่ 3 กตัญญูบูรพาจารย์ |
100,000 |
5 |
โครงการพัฒนาศักยภาพด้านภาษาและการเผยแผ่ |
160,000 |
|
กิจกรรมที่ 1 ค่ายธรรมะภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษา |
100,000 |
|
กิจกรรมที่ 2 การอบรมศาสนพิธีกรต้นแบบ |
60,000 |
6 |
โครงการอบรมกรรมฐานภาคปฏิบัติประจำปี |
160,000 |
กิจกรรมที่ 1 การอบรมกรรมฐานภาคปฏิบัติประจำเดือนหลักสูตร 3 วัน 2 คืน |
60,000 |
|
|
กิจกรรมที่ 2 การอบรมกรรมฐานภาคปฏิบัติประจำปี หลักสูตร 15 วัน |
100,000 |
7 |
โครงการแนะแนวและสร้างความร่วมมือเครือข่ายสถาบันการศึกษา |
150,000 |
|
กิจกรรมที่ 1 การออกนิเทศและแนะแนวการศึกษา |
50,000 |
กิจกรรมที่ 2 การประชุมสัมมนาครูแนะแนวระดับมัธยมศึกษา |
100,000 |
|
8 |
โครงการฟื้นฟูและส่งเสริมศิลปะวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น |
420,000 |
|
กิจกรรมที่ 1 การสวดด้าน |
80,000 |
|
กิจกรรมที่ 2 แห่ผ้าขึ้นธาตุ |
50,000 |
กิจกรรมที่ 3 ให้ทานไฟ |
60,000 |
|
|
กิจกรรมที่ 4 บุญสารทเดือนสิบ |
100,000 |
|
กิจกรรมที่ 5 แห่เทียนพรรษา |
50,000 |
|
กิจกรรมที่ 6 ตักบาตรเทโว |
80,000 |
9 |
โครงการพัฒนาสมรรถนะสากลให้กับบุคลากรและนักศึกษา |
100,000 |
|
กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาการเรียนรู้ ICT เพื่อการศึกษา |
50,000 |
|
กิจกรรมที่ 2 อบรมทักษะการใช้สื่อสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน |
50,000 |
|
วิถีที่ 2 ประยุกต์ ผสาน สร้างสรรค์ อย่างลึกซึ้ง |
350,000 |
|
2.1 โครงการ วิจัยพุทธศาสตร์และสหศาสตร์สาขาวิทยาการ |
|
1 |
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ |
350,000 |
|
กิจกรรมที่ 1 การฝึกอบรมเทคนิคการเขียนงานวิจัย-ตำราและผลงานวิชาการ |
100,000 |
|
กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาผลงานวิจัยเพื่อขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ |
100,000 |
กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาผลงานด้านตำราและเอกสารประกอบการสอน |
100,000 |
|
กิจกรรมที่ 4 การพัฒนาผลงานด้านบทความวิชาการสู่ฐาน TCI |
50,000 |
|
|
วิถีที่ 3 ปฏิบัติ ค้นหา ตน เติม คน เสริมสร้าง สังคม |
|
|
3.1 โครงการ พลเมืองดูแลตน ต้องเริ่มจากมองตน ดูจิตตน เพื่อผู้คนในสังคม |
300,000 |
1 |
โครงการอบรมสัมมนาพระสังฆาธิการภาคใต้ |
100,000 |
2 |
โครงการธรรมสังคีตสู่ชุมชน |
200,000 |
|
กิจกรรมที่ 1 การสืบสานและเผยแพร่ธรรมผ่านเพลงลูกทุ่งตามวิถีใต้ |
50,000 |
|
กิจกรรมที่ 2 ผลิตและสร้างสรรค์สื่อธรรมสังคีตสู่ชุมชน |
80,000 |
|
กิจกรรมที่ 3 การผลิตและเผยแพร่ธรรมวิชาการผ่านสื่อออนไลน์ |
70,000 |
|
วิถีที่ 5 ปฏิรูป พลิก เปลี่ยน ปรับ รับการเปลี่ยนแปลง |
|
|
5.1 พลิกโฉม ระบบบริหารทรัพยากรมนุษย์ Next Gen for HR |
250,000 |
|
โครงการพัฒนาศักยภาพอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา |
150,000 |
|
โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มพูนความรู้ของบุคลากร |
100,000 |
|
กิจกรรมที่ 1 การฝึกอบรมทักษะการใช้เทคโลยีในปฏิบัติงานยุคใหม่ |
30,000 |
|
กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาองค์กรแห่งความสุข ( Happy Workplace) |
70,000 |
|
5.4 ปฏิรูปทั้งองค์กร สู่ New MAHAMAKUT : กฎหมาย โครงสร้าง กระบวนการ การบริหาร ระบบดำเนินการ ระบบบริการ ระบบกำกับติดตาม |
950,000 |
1 |
เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายศูนย์การศึกษา |
800,000 |
2 |
โครงการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาประจำปี |
150,000 |
|
กิจกรรมที่ 1 การเตรียมความพร้อมก่อนการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา |
20,000 |
|
กิจกรรมที่ 2 การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร |
100,000 |
|
กิจกรรมที่ 3 การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาระดับวิทยาเขต |
30,000 |
ที่มา : ฝ่ายวิเคราะห์นโยบายและแผน
1.8.3 ข้อมูลพื้นฐานด้านอาคารสถานที่ และสิ่งปลูกสร้าง
ที่ |
อาคาร |
พื้นที่ใช้สอย |
ประโยชน์ใช้สอย |
จำนวนห้อง |
หมายเหตุ |
สถานที่เดิม ภายในวัดป่าห้วยพระ |
|||||
1 |
อาคารสำนักงานรองอธิการบบดี |
อาคาร 2 ชั้น |
ฝ่ายการเงินและบัญชี / ฝ่ายวิเคราะห์นโยบายและแผน |
1 ห้อง |
|
|
|
|
ฝ่ายพัสดุ |
1 ห้อง |
|
|
|
|
ห้องประชุม |
1 ห้อง |
|
|
|
|
ห้องรองอธิการบดี |
1 ห้อง |
|
|
|
|
ห้องผู้ช่วยอธิการบดี |
1 ห้อง |
|
|
|
|
ห้องศูนย์บริการวิชาการ |
1 ห้อง |
|
|
|
|
ศูนย์ประสานงานพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน |
1 ห้อง |
|
2 |
อาคารเรียน |
อาคาร 3 ชั้น |
ห้องวิทยาลัยศาสนศาสตร์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยศาสนศาสตร์ งานทะเบียนและวัดผล ฝ่ายบริหารวิทยาลัยและกิจการ ฝ่ายจัดการศึกษา ฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา |
1 ห้อง |
|
|
|
|
ห้องสมุด / บรรณารักษ์ / ผู้อำนวยการศูนย์บริการวิชาการ |
1 ห้อง |
|
|
|
|
ห้องบัณฑิตวิทยาลัย / อาจารย์ประจำหลักสูตร |
1 ห้อง |
|
|
|
|
ห้องคอมพิวเตอร์ |
1 ห้อง |
|
|
|
|
ห้องปฏิบัติภาษาอังกฤษ |
1 ห้อง |
|
|
|
|
ห้องพักอาจารย์ / อาจารย์ประจำหลักสูตร |
1 ห้อง |
|
|
|
|
ห้องเรียนและห้องปฏิบัติงาน |
13 ห้อง |
|
3 |
อาคารศูนย์บริการวิชาการ |
อาคาร 3 ชั้น |
ใช้เป็นอาคารสำหรับห้องสมุด / ศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ |
|
ก่อสร้างยังไม่แล้วเสร็จ |
4 |
อาคารปฏิบัติธรรม |
อาคาร 2 ชั้น |
ชั้นบนเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมกรรมฐาน / ชั้นล่างเป็นพื้นที่ใช้สอยแบบโล่ง |
|
|
5 |
โรงอาหาร |
อาคารโล่ง |
ใช้เป็นโรงอาหารสำหรับนักศึกษา และจัดกิจกรรมต่าง ๆ |
|
|
|
อาคารเรียน (สถานที่แห่งใหม่) |
อาคาร 4 ชั้น ชั้น 1 |
- ห้องทะเบียน - ห้องธุรการ - ห้องบัณฑิตวิทยาลัย - ห้องฝ่ายบริหารวิทยาลัยฯ / กิจการนักศึกษา - ห้องพยาบาล - ห้องประชุม (ย่อย) |
1 1 1 1
1 1 |
|
|
|
ชั้น 2 |
- ห้องสมุด - ห้องศูนย์บริการวิชาการ - ห้องบัณฑิตวิทยาลัย (อาจารย์) - ห้องวิทยาลัยศาสนศาสตร์ - ฝ่ายจัดการศึกษา - ฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา - อาจารย์ประจำหลักสูตร (ป.ตรี) - สำนักงานวิทยาเขต - ฝ่ายพัสดุ - ฝ่ายการเงิน - ฝ่ายวิเคราะห์นโยบายและแผน - ห้องรองอธิการบดี - ห้องประชุม |
1 1 1 1
1
1 1 |
|
|
|
ชั้น 3 / 4 |
- ห้องคอมพิวเตอร์ - ห้องเรียน |
1 21
|
|
ที่มา : ฝ่ายพัสดุ/อาคารสถานที่
1.9 เอกลักษณ์หรือวัฒนธรรมของสถาบัน
อัตถลักษณ์
บัณฑิตที่มีความรอบรู้ในหลักพระพุทธศาสนาและสามารถเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ
เอกลักษณ์
บริการทางวิชาการพระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ
1.10 ตารางแสดงผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผลการประเมินปีที่ผ่านมา
ที่ | ข้อเสนอแนะกรรมการปีที่แล้ว | ความคิดเห็นของคณะ | ผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะกรรมการ |
---|---|---|---|
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต 1. ควรดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาคณาจารย์ ด้านการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ พร้อมการกำกับ ติดตาม ประเมินผล และเพิ่มระบบพี่เลี้ยงด้านการวิจัยและส่งเสริมการขอตำแหน่งทางวิชาการโดยกระทำเป็นกระบวนการที่ชัดเจน |
1. ฝ่ายบริหารงานบุคคลมีการกำหนดให้บุคลากรทุกระดับจัดทำแผนพัฒนาตนเองเป็นรายบุคคล (ID PLAN) เพื่อทราบสมรรถนะของบุคลากร 2. สำรวจ ส่งเสริม สนับสนุนให้อาจารย์ที่มีคุณสมบัติเข้าเกณฑ์การเสนอขอตำแหน่งทางวิชาการ พร้อมกันนี้ได้กำหนดให้มีระบบพี่เลี้ยงจากผู้ที่มีตำแหน่งทางวิชาการของวิทยาเขตเป็นพี่เลี้ยงให้คำปรึกษาและคอยแนะนำกระบวนการและขั้นตอนการเข้าสู่การขอตำแหน่งทางวิชาการ | ||
2. วิเคราะห์ความต้องการขององค์กรว่าขาดอาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาใด จะได้ดำเนินการพัฒนาเพิ่มได้อย่างถูกต้อง |
1. กำหนดคุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตรทุกหลักสูตรต้องเป็นไปตามกรอบเกณฑ์มาตรฐานทุกระดับ ทั้งหลักสูตรที่เปิดอยู่แล้วในปีการศึกษา 2565 จำนวน 10 หลักสูตร และที่ขอเปิดใหม่ ในปีการศึกษา 2566 2. การแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารงานบุคคลเพื่อกำกับ ติดตาม และวิเคราะห์ศักยภาพของบุคคล และวิเคราะห์ความต้องการอัตรากำลังที่สอดคล้องกับการบริหารจัดการเพื่อความเหมาะสม ทั้งบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน 3. การประชุมวางแผน วิเคราะห์ เพื่อกำหนดและสรรหาคัดเลือกบุคลากรตามกรอบอัตรากำลังที่ต้องการปรับเพิ่ม 4. การเสนอขออนุมัติเพิ่มอัตรากำลังเพื่อให้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพหลักสูตร 5. การเสนอขออนุมัติแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรสัญญาจ้างต่อสภาวิชาการของมหาวิทยาลัย | ||
3. เพิ่มสำรวจความต้องการการจัดทำแผนกิจกรรมนักศึกษาโดยให้นักศึกษามีส่วนร่วม พร้อมกำหนดกลยุทธ์ และออกแบบกิจกรรมรวมถึงการพัฒนาแผนกิจกรรมนักศึกษาที่เกิดจากการมีส่วนร่วมอย่างเป็นรูปธรรม (โดยนักศึกษามีส่วนร่วม) |
1. ฝ่ายกิจการนักศึกษา แต่งตั้งคณะกรรมการในการจัดทำแผนพัฒนานักศึกษาที่ประกอบด้วยอาจารย์ กรรมการบริหารหลักสูตรแต่ละหลักสูตร และตัวแทนนักศึกษา เพื่อร่วมกันจัดทำแผนพัฒนานักศึกษา 2. งานกิจการนักศึกษากำหนดระยะเวลาในการจัดทำแผนพัฒนานักศึกษาร่วมกับนักศึกษาและดำเนินการประชุมจัดทำแผนร่วมกันและนำเสนออนุมัติในที่ประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาเขต 3. การจัดกิจกรรม/โครงการที่ส่งเสริมสมรรถนะและพัฒนาศักยภาพนักศึกษา 4. การจัดกิจกรรม/โครงการที่ส่งเสริมทักษะกระบวนการเรียนการสอนและสอดคล้องกับศตวรรษที่ 21 | ||
4. การจัดกิจกรรม/โครงการการให้ข้อมูลและความรู้ที่เป็นประโยชน์ให้กับศิษย์เก่า |
วิทยาเขตควรมีการสำรวจความต้องการของศิษย์เก่า และวางแผนกำหนดกิจกรรมหรือแหล่งข้อมูลบริการให้กับศิษย์เก่าที่เป็นประโยชน์ทั้งในด้านการรับรู้ข่าวสารของวิทยาเขต และการเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาด้านความรู้เพื่อไปปรับใช้ในการทำงานและการสร้างความสัมพันธ์กับมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง 1.กิจกรรม/โครงการด้านการส่งเสริมอาชีพ 2. อบรมสัมมนาพัฒนาศักยภาพการเป็นครู 3. อบรมสัมมนารัฐศาสตร์วิชาการ 4. อบรมสัมมนาวิชาการด้านการบริหารการศึกษา 5. อบรมสัมมนาวิชาการด้านสังคมวิทยา | ||
องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย 1. ควรมีการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการผลิตผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ และเขียนโครงการของบวิจัยภายนอกเพื่อเพิ่มแหล่งทุนให้มากขึ้น |
1. วิเคราะห์ ทบทวน เพื่อกำหนดแผนการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนทุนการสร้างผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ให้อาจารย์ที่มีความต้องการในการพัฒนาศักยภาพในการเขียนโครงการวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก เพื่อการจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอตามความต้องการของอาจารย์ 2. ส่งเสริม สนับสนุนให้อาจารย์เข้าร่วมประชุม/อบรม การทำวิจัยเพื่อขอทุนภายนอก เพื่อพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในการเขียนเสนอโครงการวิจัย และให้อาจารย์ทำผลงานวิชาการโดยศักยภาพของอาจารย์ในการขอทุนวิจัยจากภายนอก โดยมีทีมพี่เลี้ยงให้คำแนะนำในการเขียนโครงการวิจัย | ||
2. ควรส่งเสริม สนับสนุนให้อาจารย์ผลิตผลงานวิชาการหรืองานวิจัย เพื่อให้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานการพัฒนาคุณภาพอาจารย์ |
การจัดกิจกรรมการส่งเสริมงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ โดยการถ่ายทอดจากผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ โดยการวิเคราะห์ วางแผนงานวิจัยที่สร้างความเชื่อมโยงกับการบริการวิชาการ / การเรียนการสอน / ศิลปะและวัฒนธรรม ที่เกิดจากการสำรวจบริบทของวิทยาเขตและสังคม และส่งเสริมให้อาจารย์มีผลงานตีพิมพ์เผยแพร่อย่างน้อย 1 ชิ้นงานต่อปีอยู่ในรูปของบทความวิจัยหรือบทความทางวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI ปีการศึกษา 2565 มีผลงานตีพิมพ์จำนวน 45 เรื่อง | ||
3. ควรริเริ่มการจัดทำระบบ และกลไกในการคุ้มครองสิทธิ์ โดยร่วมมือกับสถาบันวิจัยญาณสังวร |
มหาวิทยาลัยโดยสถาบันวิจัยญาณสังวร มีการนำเสนอนโยบายที่จะดำเนินการให้มีระบบและกลไกที่ช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ของสถาบัน เข้าสู่การประชุมระดับผู้บริหารของมหาวิทยาลัย เพื่อร่วมกันพิจารณาแนวปฏิบัติ และขั้นตอนของการคุ้มครองสิทธิ์ | ||
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ 1. กระบวนการกำกับ ติดตาม การบริการวิชาการแก่สังคม ควรมีการกำกับติดตามตามระยะไตรมาส และควรกำกับ ติดตามประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่กำหนดไว้ในแผนบริการวิชาการ |
1. มีการรายงานผลการดำเนินงานด้านการบริการวิชาการ ในการดำเนินงานกิจกรรมหรือโครงการต่าง ๆ ด้านการให้บริการวิชาการ เพื่อรับทราบผลการดำเนินงาน จุดอ่อน จุดแข็งรวมทั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ และเพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไข พัฒนาการดำเนินงานตามแผนบริการวิชาต่อไป 2. การปรับกลยุทธิ์ กระบวนการการดำเนินงานของโครงการที่เน้นถึงกระบวนการเรียนรู้ให้กับชุมชน และสามารถนำสิ่งที่ได้ไปต่อยอดที่นำไปสู่การพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับสถาบัน และชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน 3. มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการวิชาการที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถดำเนินงานตามพันธกิจของมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง 4. รายงานผลการดำเนินงานโครงการต่าง ๆ เข้าสู่ที่ประชุมเพื่อจะได้นำไปปรับปรุงพัฒนาในครั้งต่อไป 5. ประชุมคณะกรรมการการให้บริการวิชาการเพื่อทบทวน การปรับรูปแบบการให้บริการวิชาการให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
| ||
2. ควรรายงานตัวบ่งชี้ที่ใช้วัดความสำเร็จของแผน และตัวบ่งชี้ความสำเร็จของโครงการให้เห็นถึงการพัฒนาและนำไปใช้ประโยชน์ได้ทุกมิติ |
การนำแผนการดำเนินงานเข้าที่ประชุมคณะกรรมการประจำวิทยาเขตเพื่อพิจารณา วิเคราะห์เพื่อพัฒนาในทุก ๆ ด้าน / นำข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประจำวิทยาเขตไปปรับปรุงแผนบริการวิชาการในปีถัดไป | ||
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 1. ควรมีการรวบรวมองค์ความรู้ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ที่นำสู่การเผยแพร่ในสาธารณะให้เป็นที่ยอมรับ โดยอาจมีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมให้ประชาชนและผู้สนใจได้เรียนรู้เป็นรูปธรรมชัดเจนขึ้น |
1. แต่งตั้งคณะกรรมการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม เพื่อการกำกับ ติดตาม วางแผนในด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 2. ดำเนินการโครงการฟื้นฟูและส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น - กิจกรรมการสวดด้าน - กิจกรรมแห่ผ้าขึ้นธาตุ - กิจกรรมให้ทานไฟ - กิจกรรมบุญสารทเดือนสิบ - กิจกรรมแห่เทียนพรรษา - กิจกรรมตักบาตรเทโว
| ||
2. ควรเพิ่มการบูรณาการองค์ความรู้ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม กับงานวิจัย และการเรียนการสอนมากขึ้นโดยร่วมมือกับชุมชนและผู้รู้ ปราชญ์ชาวบ้านเพื่อสร้างความเข็มแข็งและยั่งยืนของสังคม |
1. การจัดทำแผนที่กำหนดเป้าหมาย ตัวชี้วัด ความสำเร็จของแผนให้สอดคล้องกับบริบทของสถาบันและของชุมชน/สังคม พร้อมทั้งมีการประเมินความสำเร็จตัวชี้วัดนั้นอย่างเป็นระบบและชัดเจน 2.ฝ่ายกิจการนักศึกษาร่วมกับศูนย์บริการวิชาการออกแบบให้ทุกโครงการที่อยู่ภายใต้แผนทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมและแผนพัฒนานักศึกษา ให้ดำเนินกิจกรรม/โครงการตามระบบ PDCA โดยระบุจากผลการดำเนินงาน และสิ่งที่ต้องการพัฒนาที่ชัดเจน และรายงานผลการดำเนินงานในคราวประชุมในระดับต่าง ๆ 3. การนำผลการดำเนินงานเข้าที่ประชุมคณะกรรมการประจำวิทยาเขตเพื่อพิจารณา วิเคราะห์เพื่อพัฒนาในทุก ๆ ด้าน / นำข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประจำวิทยาเขตไปปรับปรุงแผนการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมในปีถัดไป | ||
3. ในอนาคตควรมีการกำหนดมาตรฐานด้านศิลปะและวัฒนธรรมให้เป็นที่ยอมรับระดับชาติ หรือนานาชาติ เพื่อแสดงศักยภาพของวิทยาเขตในด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม |
1. วิทยาเขตมีการถ่ายทอดศิลปะวัฒนธรรมให้เป็นที่รู้จักและยอมรับศักยภาพในการจัดกิจกรรม โดยการนำเสนอวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตที่ถ่ายทอดรูปแบบผ่านโครงการ กิจกรรม 2. ดำเนินโครงการที่เกี่ยวกับเอกลักษณ์ที่โดดเด่นของจังหวัดนครศรีธรรมราช และสอดคล้องกับบริบทของวิทยาเขต และนำไปสู่การปฏิบัติตามเป้าหมายด้านทำนุบำรุงที่วางไว้ | ||
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ 1. การทบทวนแผนควรมีการวิเคราะห์ SWOT ให้เชื่อมโยงกับกลยุทธ์และให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ และตอบโจทย์ความเป็นตัวตน ของบริบทของวิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช |
1. มีการทบทวนแผนกลยุทธ์ และการวิเคราะห์ผลที่เกิดจากปัจจัยภายนอกและภายใน เพื่อนำมาพัฒนาแผนกลยุทธ์ของวิทยาเขต และสอดคล้องกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย และเชื่อมโยงกับกรอบเกณฑ์มาตรฐานการอุดมศึกษา โดยบุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ และแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนาวิทยาเขต พ.ศ. 2564-2568 2. ทบทวนกระบวนการถ่ายทอดแผนพัฒนามหาวิทยาลัยสู่การจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงสอดคล้องกัน รวมทั้งสื่อสารนโยบายสำคัญให้ชัดเจน นอกจจากนี้ควรทบทวนกระบวนการติดติดตามผลการดำเนินงานของแผนปฏิบัติการและแผนพัฒนามหาวิทยาลัย เพื่อให้ทราบผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานและปรับปรุง 3. การประชุมเพื่อทบทวนและวิเคราะห์ผลที่เกิดจากปัจจัยภายในและภายนอกร่วมกัน เพื่อนำไปปรับปรุง พัฒนาแผนกลยุทธ์ของวิทยาเขต | ||
2. ควรมีการกำหนดความเสี่ยงของวิทยาเขตที่ผ่านกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลของความเสี่ยงที่แท้จริง และควรออกแบบหรือกำหนดกระบวนการบริหารความเสี่ยงให้ลดลง |
1. จัดประชุมบุคลากรเพื่อร่วมกับทบทวน วิเคราะห์ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อวิทยาเขต 2. โครงการอบรมการบริหารความเสี่ยง 3. ประชุมและแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินแผนกลยุทธ์ทางการเงิน/แผนบริหารความเสี่ยง/แผนพัฒนาบุคลากร เป็นการกำกับติดตามการดำเนินงานของแผนในแต่ละแผน เพื่อนำไปสู่การปรับปรุง พัฒนาในแต่ละด้าน โดยการนำผลจากการกำกับติดตามเข้าที่ประชุมคณะกรรมการประจำวิทยาเขตเพื่อพิจารณา / นำข้อเสนอแนะไปปรับปรุงแผนที่ชัดเจน 4. ประชุมการจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน และวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยของแต่ละหลักสูตรในให้ครอบคลุมการพัฒนานักศึกษา การจัดการเรียนการสอน การพัฒนาอาจารย์และสิ่งสนับสนุนต่อการเรียนรู้ | ||
3. การนำเสนอองค์ความรู้จาก KM ที่ได้มาออกแบบกระบวนการของการให้ทุกคนที่เกี่ยวข้องได้เข้าถึงองค์ความรู้และนำไปใช้ กระบวนการได้มาของแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ควรเขียนเป็นกระบวนการที่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง |
1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมมีการดำเนินการการจัดการความรู้ (KM) ในการเชื่อมโยงเป้าหมายการจัดการความรู้ภายในวิทยาเขตที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย มาพัฒนาให้เป็นระบบและเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน ในประเด็นตามวิถีแห่งการพัฒนาทั้ง 5 ได้แก่ ปริยัติ ประยุกต์ ปฏิบัติ ปฏิบถ และปฏิรูป และรวบรวมความรู้ที่ได้รับจากการจัดการความรู้ซึ่งเป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาปรับให้ให้เกิดประโยชน์และความคุ้มค่าสูงสุดในการปฏิบัติและเสนอต่อผู้บริหาร 2. การประชุมหารือบุคลากรของวิทยาเขตเกี่ยวกับการจัดการความรู้ 3. มหาวิทยาลัยมีการจัดกิจกรรม KM DAY ขึ้นเพื่อนำเสนอแนวปฏิบัติที่ดีภายในมหาวิทยาลัย นำไปสู่การถ่ายทอดและเผยแพร่ให้ผู้สนใจทั้งภายนอกและภายในมหาวิทยาลัยผ่านช่องทางต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นใช้หลักมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus oriented) แบบฟอร์ม KM-01 KM-02 และได้แผนการจัดการความรู้ตามแบบฟอร์ม KM-03 | ||
4. ควรมีการจัดสรรงบประมาณในการบริหารจัดการหลักสูตรในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้มีความสอดคล้องในการบริหารหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานทุก ๆ ด้าน |
1. กำหนดให้หลักสูตรแต่ละหลักสูตรจัดทำแผนพัฒนาหลักสูตร (Improvement Plan) เพื่อกำหนดแนวทางในการบริหารหลักสูตร เพื่อเป็นการบริหารจัดการหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพ และบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ในรอบปีการศึกษาที่เกิดจากข้อเสนอแนะจากผลการประเมินในปีการศึกษาที่ผ่านมา นำมาปรับปรุงพัฒนาให้ได้มาตรฐานยิ่งขึ้น |
สรุปผลการประเมิน
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
ปีการศึกษา 2565
|
|
|
|
|
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต | ||||
1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม |
|
|
|
|
1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก |
|
|
|
|
1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ |
|
|
|
|
1.4 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี |
|
|
|
|
1.5 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี |
|
|
|
|
1.6 การส่งเสริมสนับสนุน บัณฑิตปริญญาตรี มีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ด้านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสาร |
|
|
|
|
1.7 การส่งเสริมสนับสนุน ทักษะทางด้านพระพุทธศาสนาแก่นักศึกษา |
|
|
|
|
1.8 ร้อยละของผู้ที่สอบผ่านนักธรรมชั้นตรีหรือธรรมศึกษาชั้นตรีระดับอุดมศึกษา |
|
|
|
|
1.9 บัณฑิตปริญญาตรีมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์สอบผ่านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด | ไม่รับการประเมิน | |||
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต |
|
| ||
องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย | ||||
2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ |
|
|
|
|
2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ |
|
|
|
|
2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย |
|
|
|
|
2.4 ผลงานงานวิจัยและ/หรือนวัตกรรมที่พัฒนาปัญญาและคุณธรรม (Knowledge Contribution for Intellectual and Moral Development) |
|
|
|
|
2.5 บุคลากรที่มีบทบาทหรือผลงานที่ได้รับการอ้างอิง (Morality Role Model) |
|
|
|
|
2.6 ผลงานทางวิชาการที่เกิดจากความร่วมมือกับเครือข่าย (Knowledge Contribution from Intellectual and Moral Cultivation Network) |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 การวิจัย |
|
| ||
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ | ||||
3.1 ความเข้มแข็งของเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน (Collaboration Ecosystem for Sustainable Social Development) |
|
|
|
|
3.2 จำนวนหน่วยงานหรือองค์กรชุมชนเป้าหมาย ที่เป็นเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติอย่างต่อเนื่อง ตามแผนบริการวิชาการ |
|
|
|
|
3.3 งบประมาณ/ทรัพยากรวิจัยเพื่อการพัฒนาปัญญาและคุณธรรม (Funding for Knowledge Creation in Intellectual and Mortal Development) |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ |
|
| ||
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม | ||||
4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรม และพระพุทธศาสนา |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม |
|
| ||
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ | ||||
5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ |
|
|
|
|
5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ |
|
| ||
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (20 ตัวบ่งชี้) |
|
|
ผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบคุณภาพ
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
ปีการศึกษา 2565
องค์ประกอบที่ | จำนวนตัวบ่งชี้ | I | P | O | คะแนนเฉลี่ย | ผลการประเมิน 0.00-1.50 ระดับคุณภาพต้องปรับปรุงเร่งด่วน 1.51-2.50 ระดับคุณภาพต้องปรับปรุง 2.51-3.50 ระดับคุณภาพปานกลาง 3.51-4.50 ระดับคุณภาพดี 4.51-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก |
1 | 8 | 3.43 | 4.50 | 4.30 | 4.18 | ดี |
2 | 6 | 3.50 | 4.00 | 3.00 | 3.25 | ปานกลาง |
3 | 3 | - | 3.00 | 2.50 | 2.67 | ปานกลาง |
4 | 1 | - | 3.00 | - | 3.00 | ปานกลาง |
5 | 2 | - | 5.00 | - | 5.00 | ดีมาก |
รวม | 20 | 3.45 | 4.22 | 3.20 | 3.70 | ดี |
ผลการประเมิน | ปานกลาง | ดี | ปานกลาง | ดี | ดี |
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ/วิทยาเขต/วิทยาลัยตามองค์ประกอบคุณภาพ ย้อนหลัง 3 ปี
ปีการศึกษา | องค์ประกอบที่ |
ค่าเฉลี่ยผลการประเมิน องค์ประกอบที่ 1-5 |
||||
---|---|---|---|---|---|---|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | ||
2562 | 4.15 | 3.08 | 5.00 | 5.00 | 5.00 | 4.16 |
2563 | 4.10 | 4.67 | 3.00 | 4.00 | 5.00 | 4.28 |
2564 | 3.82 | 3.55 | 5.00 | 5.00 | 5.00 | 4.12 |
2565 | 4.18 | 3.25 | 2.67 | 3.00 | 5.00 | 3.70 |
ข้อเสนอแนะ
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต
แนวทางการพัฒนา
ทบทวนการเขียนแผนให้ครอบคลุมทุกกิจกรรมและมีความเชื่อมโยงสามารถวัดและประเมินผลความสำเร็จของแผน
ทบทวนผลการประเมินระดับหลักสูตรที่มีคะแนนน้อยเพื่อนำไปพัฒนาปรับปรุงการบริหารหลักสูตร
องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย
แนวทางเสริม
จัดทำเป็นระเบียบการส่งเสริมให้อาจารย์ตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ
แนวทางเสริม
กำหนดเป้าหมายการพัฒนาชุมชน/เครือข่ายที่ยั่งยืนร่วมกันกับเครือข่ายให้ชัดเจนพร้อมมีการวางแผน การกำหนดกิจกรรม และงบประมาณในการบริการวิชาการให้ครอบคลุมและชัดเจน
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
แนวทางการเสริม
ควรรายงานการบูรณาการด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม การเรียนการสอน การวิจัย ให้เป็นรูปธรรมชัดเจน
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ
แนวทางการพัฒนา
1.หลักสูตรที่ปรับปรุงใหม่จะต้องดำเนินการในขับเคลื่อนระบบประกันคุณภาพ เช่น เกณฑ์ AUN และ เกณฑ์ Edpex
2. การเขียนแผนให้เชื่อมโยง และวัตถุประสงค์ ให้ครอบคลุมทุกองค์ประกอบและทุกแผน
บทสัมภาษณ์
บทสัมภาษณ์ นักศึกษาปัจจุบัน
แรงบันดาลใจในการมาเรียนมหาวิทยาลัย
- ได้เรียนกับพระและได้เรียนรู้ธรรมะไปด้วย ตั้งใจมาเรียนที่นี่ตั้งแต่แรกเพราะมีรุ่นพี่มาเรียนที่นี่ด้วย
เป็นไปตามที่เราคาดหวังไหม
- เป็นไปตามที่คาดหวัง
มมร มีความโดดเด่นด้านพระพุทธ นักศึกษา ได้เข้าร่วมกิจกรรมอะไรบ้างและคิดว่าไปพัฒนาตนเองได้ไหม
- ตอบกรรมฐานและได้นำมาใช้ในการดำรงชีวิตได้จริง
นักศึกษามีข้อเสนออยาจะให้ทางมหาวิทยาลัยปรับปรุง
- อยากมีการส่งเสริมเรื่องภาษาอังกฤษให้มากขึ้น
การวางตัวสำหรับพระนักศึกษาเป็นอย่างไร
- มีการปรับตัวที่ดี
ได้รับประโยชน์อะไรบ้างในการเข้ามาเรียนในมหาวิทยาลัยสงฆ์
- การมีระเบียบวินัย ด้านคุณธรรม จริยธรรม มีการสอดแทรกด้านคุณธรรม จริยธรรม ในรายวิชาทุกช่วงเช้าจะมีการสวดมนต์ เช้า และนักเรียน มีคุณธรรม เช่น มารยาทในการไหว้ นับถือครูบารย์อาจารย์ มีกาละเทศะ
- การสวดมนต์ และได้ไปช่วยสอนในคาบรายวิชาด้านพระพุทธศาสนา
สิ่งที่มหาวิทยาลัยน่าจะปรับปรุงเพื่อใช้ให้กับรุ่นน้อง ที่คาดหวัง อยากให้มี หรือ อยากให้เกิดขึ้น
- มีเสริมโครงการภาษาอังกฤษให้กับนักศึกษา
- มีการเสริมแนะนำการอบรมลูกเสือ
การสอนสมัครครูวิชาชีพปีนี้ทันไหม
ไม่ทัน มีการติวอยู่ แต่อยากเน้นรายวิชาภาษาอังกฤษ กับ วิชาเอกด้านวิชาครู
ผู้ประกอบการ
นักศึกษาที่ไปสอนคุณลักษณะเป็นอย่างไร
- นักศึกษาเป็นเด็กกิจกรรม
- มีจิตอาสา
ศิษย์เก่า
อยากให้วิทยาเขตปรับปรุงในเรื่องอะไรบ้าง
- มีปริญญาโท สาขาวิชารัฐศาสตร์
- ในที่เรียน มมร มา ได้นำไปพัฒนาอะไรบ้าง
- พัฒนาตัวเราในเรื่องของจิตใจ ที่เย็นลง
ในกรณีวิทยาเขตขอความช่วยเหลือจากศิษย์เก่าจะเข้ามาช่วยใน มมร ในเรื่องอะไรได้บ้าง
- ช่วยในเรื่องการแรงกาย ในการจัดสวนทำความสะอาด ห้องเรียน
การติดต่อข้อมูลข่าวสารทางไหน
- สามารถติดต่อได้เลย อยู่ใกล้มหาวิทยาลัย
อยากให้มหาวิทยาลัยมีการ upskill ในเรื่องไหนบ้างอย่างไร
- ในเรื่องวิชาชีพ ในส่วนราชการ