
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ/วิทยาเขต/วิทยาลัย ปีการศึกษา 2565
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด
บทสรุปผู้บริหาร
บทนำ
1.1 ชื่อหน่วยงาน ที่ตั้ง และประวัติความเป็นมาโดยย่อ
1.1 ชื่อส่วนงาน ที่ตั้ง และประวัติความเป็นมาโดยย่อ
(1) ชื่อ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด
(2) เว็บไซต์ www.rec.mbu.ac.th
(3) ศาสนสุภาษิตประจำมหาวิทยาลัย : วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน โส เสฏฺโ เทวมานุเส. มีความหมายว่า ผู้สมบูรณ์ด้วยความรู้และความประพฤติ เป็นผู้ประเสริฐในหมู่เทพและมนุษย์
(4) สีประจำมหาวิทยาลัย : สีส้ม หมายถึง สีประจำพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งตรงกับสีของวันพฤหัสบดีอันเป็นวันพระราชสมภพ
(5) ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย : ต้นโพธิ์ เป็นที่ตรัสรู้ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
(6) คติพจน์ประจำตัวนักศึกษา : ระเบียบ สามัคคี บำเพ็ญประโยชน์
(7) ตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย :
พระมหามงกุฎ หมายถึง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 พระผู้ทรงเป็นที่มาแห่งนาม “มหามกุฏราชวิทยาลัย”
พระเกี้ยวประดิษฐานแบบหมอนรอง หมายถึง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ซึ่งทรงเป็นผู้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดตั้งมหามกุฏราชวิทยาลัย และพระราชทานทรัพย์บำรุงปีละ 60 ชั่ง
หนังสือ หมายถึง คัมภีร์และตำราทางพระพุทธศาสนาโดยที่มหามกุฏราชวิทยาลัยจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นแหล่งผลิตคัมภีร์และตำราทางพระพุทธศาสนา สำหรับส่งเสริมการศึกษาและเผยแผ่พระพุทธศาสนา
ปากกา ปากไก่ ดินสอและม้วนกระดาษ หมายถึง อุปกรณ์ในการศึกษาเล่าเรียนตลอดถึงอุปกรณ์ในการผลิตคัมภีร์และตำราทางพระพุทธศาสนาเพราะมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ทำหน้าที่เป็นทั้งสถานศึกษาและแหล่งผลิตตำราทางพระพุทธศาสนา
ช่อดอกไม้แย้มกลีบในทางการศึกษา หมายถึง ความเบ่งบานแห่งสติปัญญาและวิทยาความรู้แต่ในทางพระศาสนา หมายถึง กิตติศัพท์กิตติคุณที่ฟุ้งขจรไปดุจกลิ่นแห่งดอกไม้โดยมีความหมายรวม คือความเจริญรุ่งเรืองและเกียรติยศ อิสริยยศ บริวารยศ
พานรองรับหนังสือหรือคัมภีร์ หมายถึง มหามกุฏราชวิทยาลัยเป็นสถาบันเพื่อความมั่นคงและแพร่หลายของพระพุทธศาสนาทั้งในด้านการศึกษาและการเผยแผ่
วงรัศมี หมายถึง ความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาที่บังเกิดขึ้นจากกิจกรรมของมหามกุฏราชวิทยาลัยภายใต้พระบรมราชูปถัมภ์ของพระมหากษัตริย์ไทย
มหามกุฏราชวิทยาลัย หมายถึง สถาบันการศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ปัจจุบันคือ “มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย”
(8) อัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย : บัณฑิตมีความรอบรู้ในหลักพระพุทธศาสนาและสามารถเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติและนานาชาติ
(9) เอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัย : บริการวิชาการทางพระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติและนานาชาติ
ที่ตั้ง
วิทยาเขต |
ที่อยู่ |
โทรศัพท์ |
โทรสาร |
|
1. |
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง |
248 วัดบ้านสุวรรณ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม73170 |
0-2282-8303,0-2281-6427 |
0-2281-0294 |
2. |
วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย |
วัดชูจิตธรรมาราม เลขที่ 57 หมู่ที่ 1 ต.สนับทึบ อ.วังน้อยจ.พระนครศรีอยุธยา 13170 |
035 – 745037 –8 |
035 - 745037 |
3. |
วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย |
วัดสิรินธรเทพรัตนาราม เลขที่ 26 หมู่ที่ 7 ต.อ้อมใหญ่ อ.สามพรานจ.นครปฐม 73160 |
02 – 4291663, 02 - 4291719 |
02 - 4291241 |
4. |
วิทยาเขตอีสาน |
เลขที่ 9/37 ม. 12 ถ.ราษฏร์คนึง บ้านโนนชัย ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000 |
043 – 241488, 043 - 239605 |
043 - 241502 |
5. |
วิทยาเขตล้านนา |
วัดเจดีย์หลวง 103 ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 |
053-270-9756 |
053-814-752 |
6. |
วิทยาเขตร้อยเอ็ด |
เลขที่ 148 ถ.เลี่ยงเมือง ต.ดงลาน อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด 45000 |
043 – 518364, 043 - 516076 |
043 - 514618 |
7. |
วิทยาเขตศรีล้านช้าง |
วัดศรีสุทธาวาส เลขที่ 253/7ถ.วิสุทธิเทพ ต.กุดป่อง อ.เมือง จ.เลย 42000 |
042 – 813028, 042 - 830434 |
042 – 830686, 042 - 811255 |
8. |
วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช |
วัดพระมหาธาตุ เลขที่ 169/9ถ.ราชดำเนิน ต.ในเมือง อ. เมืองจ.นครศรีธรรมราช 80000 |
075 – 340499 |
075 – 310293, 075 - 357968 |
9. |
มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัยในพระสังฆราชูปถัมภ์ |
หมู่ 6 ต.ภูหลวง อ.ปักธงชัยจ.นครราชสีมา 30150 |
081 – 7022076, 086 – 0123470, 086 – 0155830 |
044 - 249398 |
10. |
วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร |
วัดศรีธรรมาราม เลขที่ 1ถ.วิทยธำรงค์ อ.เมือง จ.ยโสธร 35000 |
045 – 711056 |
045 – 711567, 045 - 711056 |
11. |
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ |
วัดประชานิยม ต.กาฬสินธุ์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ 46000 |
043 - 815393 |
043 – 815393 043 - 815855 |
ประวัติวิทยาเขตร้อยเอ็ด
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด เป็นสถาบันอุดมศึกษาสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว) ขออนุมัติจัดตั้งโดยพระราชธรรมานุวัตร (ขณะดำรงสมณศักดิ์ ที่พระประภัสสรมุนี) เจ้าคณะจังหวัดร้อยเอ็ด (ธ) และพระธรรมฐิติญาณ (ขณะดำรงสมณศักดิ์ที่พระราชสารสุธี) เมื่อปี พ.ศ. 2535 ต่อมาได้รับอนุมัติให้จัดตั้งเป็นวิทยาเขตชื่อ “วิทยาเขตร้อยเอ็ด” เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 เดิมมีที่ทำการชั่วคราวอยู่ที่วัดเหนือ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองร้อยเอ็ดจังหวัดร้อยเอ็ด และในปี พ.ศ. 2537 พระเทพวิสุทธิมงคล (หลวงปู่ศรี มหาวีโร) เจ้าอาวาสวัดประชาคมวนาราม (วัดป่ากุง) ได้มาเห็นสภาพอาคารเรียนและห้องเรียนที่วัดเหนือคับแคบแออัดไม่เพียงพอ และไม่เอื้ออำนวยต่อการจัดการเรียนการสอนจึงได้อนุญาต และทำสัญญายินยอมให้ใช้ที่ดินเนื้อที่ 101 ไร่ 98 ตารางวา โดยสมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก (เจริญ สุวฑฺฒโน) ขณะดำรงสมณศักดิ์ ที่พระสาสนโสภณ เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต เป็นองค์รับมอบที่วัดบ้านเหล่าสมบูรณ์ (วัดศรีทองไพบูลย์วราราม ปัจจุบัน) ตั้งอยู่ที่ถนนเลี่ยงเมือง ตำบลดงลาน อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ให้กับมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด เข้าทำประโยชน์ใช้สอยจัดการศาสนศึกษาแก่พระภิกษุ สามเณรและคฤหัสถ์ทั่วไป พร้อมทั้งให้อำนาจจัดการในการใช้ที่ดิน เพื่อปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างต่างๆ และให้เป็นที่ตั้งถาวรของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด ในปัจจุบัน สถานที่ตั้ง อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 3 กิโลเมตร มีอาณาเขตดังนี้
ทิศเหนือ ตรงข้าม การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดร้อยเอ็ด
ทิศใต้ ติดกับ ชุมชนบ้านเหล่าเรือ
ทิศตะวันออก ติดกับ ชุมชนบ้านเหล่าเรือ
ทิศตะวันตก ติดกับ ชุมชนบ้านเหล่าใหญ่
1.2 ปรัชญา ปณิธาน เป้าหมายและวัตถุประสงค์
ปรัชญามหาวิทยาลัย (Philosophy)
“ความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนา”
"Academic Excellence based on Buddhism"
ปณิธาน (Aspiration)
มุ่งเน้นให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผลิตบัณฑิตให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนาพัฒนากระบวนการดำรงชีวิตในสังคมด้วยศีลธรรม ชี้นำและแก้ปัญหาสังคมด้วยหลักพุทธธรรม ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
วิสัยทัศน์ (Vision Statements)
เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยบูรณาการหลักพระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อร่วมพัฒนาพลเมืองโลก
พันธกิจ (Mission Statements)
- ผลิตบัณฑิตให้มีสติปัญญาและคุณธรรมจริยธรรมตามหลักพุทธศาสนา
- ส่งเสริมการวิจัยโดยการบูรณาการหลักพุทธธรรมเพื่อสร้างนวัตกรรมที่แก้ไขปัญหาและพัฒนาสังคม
- ให้บริการวิชาการด้านพระพุทธศาสนาแก่สังคม ชุมชน ท้องถิ่นโดยมุ่งพัฒนาจิตใจ สติปัญญาและพฤติกรรมเพื่อให้เกิดสันติสุข
- ส่งเสริมสืบสาน รักษา ต่อยอดทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่นตามแนวพุทธศาสตร์
- สร้างศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต
- บริหารจัดการองค์กรตามหลักธรรมาภิบาล
1.3 โครงสร้างองค์กร และโครงสร้างการบริหาร
1.4 รายชื่อผู้บริหาร กรรมการบริหาร
ลำดับ |
ชื่อ/ฉายา/นามสกุล |
ตำแหน่ง |
1 |
พระครูวิจิตรปัญญาภรณ์, ผศ.ดร. |
รองอธิการบดี วิทยาเขตร้อยเอ็ด |
2 |
พระครูปลัด ทองใบ สุปภาโส |
รักษาการผู้อำนวยการสำนักงานวิทยาเขตร้อยเอ็ด |
3 |
พระมหาอำนวย มหาวีโร, ดร. |
รักษาการผู้อำนวยการวิทยาลัยศาสนศาสตร์ร้อยเอ็ด |
4 |
พระศิลาศักดิ์ สุเมโธ |
รักษาการผู้อำนวยการศูนย์บริการวิชาการร้อยเอ็ด |
5 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรสิทธิ์ ไกรสิน |
ผู้ช่วยอธิการบดี วิทยาเขตร้อยเอ็ด |
6 |
ดร.ธีรภัทร์ ถิ่นแสนดี |
กรรมการประจำวิทยาเขตร้อยเอ็ด |
7 |
ดร.พรทิวา ชนะโยธา |
กรรมการประจำวิทยาเขตร้อยเอ็ด |
8 |
ดร.จรุงภรณ์ กลางบุรัมย์ |
กรรมการประจำวิทยาเขตร้อยเอ็ด |
1.5 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน
- หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา
- หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา
- หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง
- หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
- หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ
- หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
- หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา
- หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
- หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
- หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่นตามแนวพุทธศาสตร์
- หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา
- หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต
- หลักสูตรรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต
1.6 จำนวนนักศึกษา
หลักสูตร/สาขาวิชา |
จำนวนนักศึกษา (รูป/คน) |
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา (รูป/คน) |
1. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม |
19 |
12 |
2. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา |
85 |
10 |
3. หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง |
264 |
38 |
4.หลักสูตร ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย |
82 |
9 |
5. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ |
29 |
5 |
6. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย |
89 |
12 |
7. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา |
34 |
12 |
8. หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา |
71 |
21 |
9. หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา |
28 |
3 |
10. หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่นตามแนวพุทธศาสตร์ |
91 |
9 |
11. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา |
24 |
0 |
12. หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต |
28 |
0 |
13. หลักสูตรรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต |
7 |
0 |
รวม |
851 |
131 |
1.7 จำนวนอาจารย์และบุคลากร
วิทยาเขตร้อยเอ็ด มีบุคลากรทั้งหมด 83 รูป/คน แบ่งเป็น 3 สายงาน ดังนี้
1) สายวิชาการ (T) ประกอบด้วยอาจารย์ประจำ อาจารย์ประจำหลักสูตร จำนวน 52 รูป/คน
2) สายสนับสนุนการเรียนการสอน (S) จำนวน 25 คน
3) สายบริการ (W) จำนวน 6 คน
1.8 ข้อมูลพื้นฐานโดยย่อเกี่ยวกับงบประมาณ และอาคารสถานที่
ลำดับที่ |
รายละเอียดอาคาร / ชื่ออาคาร |
การใช้งานอาคาร |
ประโยชน์ใช้สอย |
|||
พื้นที่ใช้สอย |
จำนวนห้อง |
ใช้งานอยู่ |
ว่าง |
|||
1 |
อาคาร 1 คณะสังคมศาสตร์มี 3 ชั้น |
1,300.50 ตรม. |
18 |
18 |
- |
- ใช้เป็นห้องเรียนทั้ง 12 ห้อง - ใช้เป็นห้องพักอาจารย์ประจำหลักสูตร ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการปกครอง - ห้องคณะกรรมการและสวัสดิการนักศึกษา |
2 |
อาคารศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ |
200 ตรม. |
3 |
3 |
- |
ใช้เป็นห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 1 ห้อง ใช้เป็นศูนย์เครือข่ายเทคโนโลยี สารสนเทศ 1 ห้อง |
3 |
อาคารห้องประชุมพระธรรมฐิติญาณ |
800 ตรม. |
4 |
4 |
- |
-ใช้เป็นห้องประชุมสัมมนาทั้งภายใน และภายนอก -ใช้เป็นห้องเรียนรวม - ห้องประชุมบุคลากร |
4 |
อาคาร 2 คณะศึกษาศาสตร์ มี 4 ชั้น |
2,394 ตรม. |
21 |
21 |
- |
- ใช้เป็นห้องเรียน 19 ห้อง - ใช้เป็นห้องพักอาจารย์ประจำหลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการประถมศึกษา สาขาวิชาการสอนภาษาไทย สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย - ใช้เป็นห้องประชุม, ห้องเรียนรวม |
5 |
อาคารหอประชุม |
922 ตรม. |
1 |
1 |
- |
- ใช้เป็นสถานที่จัดกิจกรรม/โครงการต่าง ๆ ประชุม สัมมนา - ใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีในวันสำคัญของชาติ และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา - เป็นสถานที่จัดประชุม สัมมนา ขององค์กรภาครัฐ และเอกชน - สนับสนุนการประชุม อบรม สัมมนาพระสังฆาธิการ |
6 |
อาคารสำนักงานบริหาร(หลังเก่า) มี 2 ชั้น |
484 ตรม. |
5 |
5 |
- |
- ใช้เป็นห้องพักบุคลากร |
7 |
อาคารสโมสรนักศึกษา 2 ชั้น
|
2,242.90 ตรม./300 เมตร |
1/300 ม. |
1/300 ม. |
- |
- ชั้นบนใช้เป็นห้องจัดกิจกรรมสวดมนต์ไหว้พระสำหรับบุคลากรและนักศึกษา - ใช้เป็นห้องเรียนสมาธิ และปฏิบัติกรรมฐาน - ชั้นล่างเป็นห้องเก็บพัสดุครุภัณฑ์ |
8 |
หอพระประจำวิทยาเขตร้อยเอ็ด |
129.6 ตรม. |
1 |
1 |
- |
-ประดิษฐานพระพุทธรูป และ รูปเหมือนบูรพาจารย์/ปฐมาจารย์ผู้ก่อตั้ง วิทยาเขตร้อยเอ็ด |
9 |
อาคาร 3 บัณฑิตวิทยาลัย มี 3 ชั้น |
2,494 ตรม. |
15 |
15 |
- |
- ใช้เป็นห้องเรียนระดับปริญญาโท และปริญญาเอก - ห้องพักอาจารย์ประจำหลักสูตรระดับปริญญาโท 2 สาขาวิชา และปริญญาเอก 1 สาขาวิชา - ห้องปฏิบัติการทางภาษา - ห้องคลินิกวิจัยระดับปริญญาโท |
10 |
อาคาร 4 คณะศาสนาและปรัชญา มี 3 ชั้น |
2,494 ตรม. |
15 |
15 |
- |
- ใช้เป็นห้องเรียนระดับปริญญาตรี และปริญญาโท - ห้องพักอาจารย์ประจำหลักสูตรระดับปริญญาตรี และปริญญาโท - ห้องพักอาจารย์ประจำหลักสูตร - ห้องคลินิกวิจัยระดับปริญญาโท |
11 |
อาคารเรียนและหอสมุด 3 ชั้น |
1910 ตรม. |
16 |
16 |
- |
- ใช้เป็นห้องเรียนคอมพิวเตอร์ จำนวน3 ห้อง - ห้องปฏิบัติงานคณาจารย์ เจ้าหน้าที่ - ห้องปฏิบัติงานพระสอนศิลธรรมในโรงเรียน - ห้องประชุมศูนย์บริการวิชาการ - ห้องคลินิกวิจัยระดับปริญญาเอกสาขาวิชาการบริหารการศึกษา - ห้องสมุด/ห้องสืบค้น |
12 |
อาคารสำนักงานบริหาร วิทยาเขตร้อยเอ็ด |
2,200ตรม. |
45 |
45 |
|
- ห้องปฏิบัติงานของผู้บริหาร 5 ห้อง - ห้องปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สายสนับสนุน 10 ห้อง - ห้องประชุมผู้บริหาร 1 ห้อง - ห้องประชุม สัมมนา 2 ห้อง - ห้องเรียนออนไลน์จำนวน 10 ห้อง |
13 |
อาคารโรงอาหาร |
1,000 ตรม. |
7 |
7 |
|
- ใช้เป็นที่รับประทานอาหาร - ร้านมินิมาร์ท - สถานที่ประกอบอาหาร - ร้านถ่ายเอกสาร / พิมพ์งาน |
1.9 เอกลักษณ์หรือวัฒนธรรมของสถาบัน
1.3 เอกลักษณ์มหาวิทยาลัย อัตลักษณ์มหาวิทยาลัยและอัตลักษณ์บัณฑิต
อัตลักษณ์บัณฑิตมีความรอบรู้ในหลักพระพุทธศาสนาและสามารถเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ
เอกลักษณ์บริการวิชาการพระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติการชี้นำ ป้องกัน หรือ แก้ปัญหาของสังคม 2 เรื่อง
1) ภายในมหาวิทยาลัย จิตสาธารณะ หรือจำสำนึกทางสังคม
2) ภายนอกมหาวิทยาลัย การนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและแนวพระราชดำรัสต่าง ๆ ไปใช้ในการแก้ปัญหาสังคม
1.10 ตารางแสดงผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผลการประเมินปีที่ผ่านมา
ที่ | ข้อเสนอแนะกรรมการปีที่แล้ว | ความคิดเห็นของคณะ | ผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะกรรมการ |
---|---|---|---|
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต
2.แนวทางเสริมจุดแข็ง
|
คณะผู้บริหารมีการประชุม ปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาด้านการผลิตบัณฑิตตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมตรวจประเมิน ดังนี้ 1. ประกาศสรรหาอาจารย์ประจำหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม 2. ให้แนวทาง ส่งเสริม สนับสนุนและสร้างแรงบันดาลใจให้แก่อาจารย์ ในการสร้างสรรค์ผลงานเพื่อเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ 3. มอบหมายให้งานแผนงานและนโยบาย กำกับติดตามผู้รับผิดชอบแต่ละโครงการ ในการเขียนผลการดำเนินงานแสดงให้เห็นถึงวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และตัวชี้วัด เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่ |
3. มีจำนวนโครงการที่เขียนผลการดำเนินงานแสดงให้เห็นถึงวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และตัวชี้วัด เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ เพิ่มขึ้น |
|
องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย
วิทยาเขตมีระบบและกลไกสนับสนุน และขับเคลื่อนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่มีประสิทธิภาพได้แก่ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิจัยสามารถเชื่อมโยงเครือข่ายหลายช่องทางทั้งระดับสถาบัน และระดับชาติ การจัดหาแหล่งทุนวิจัย ระบบารสนับสนุนงบประมาณเพื่อการสร้างงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ แหล่งเผยแพร่งานวิจัยทั้งในและนอกวิทยาเขต คลินิกเพื่อการแก้ไข รักษาและพัฒนางานวิจัย การยกย่องผู้มีผลงานวิจัยดีเด่น และสร้างระบบการคุ้มครองทรัพย์สิสนทางปัญญาเพื่อกระต้นให้อาจารย์และบุคลากรวิจัยได้ตระหนักงานมูลค่าทางผลงานวิจัย 2.แนวทางเสริมจุดแข็ง
3. วิทยาเขตควรกำกับติดตามหลักสูตรที่มีผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์น้อยหรือได้รับงบประมาณสนับสนุนไม่เพียงพอ เพื่อสร้างความเสมอภาคทางวิชาการ และศักยภาพของอาจารย์ที่จะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพนักศึกษา และสถาบันต่อไป |
คณะผู้บริหารมีการประชุม ปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาด้านการวิจัยตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมตรวจประเมิน ดังนี้
|
2. อาจารย์ให้ความสำคัญในการพัฒนาตนเอง โดยมีการเขียนโครงการเพื่อขอทุนวิจัยจำนวนมากขึ้น และได้รับทุนในการทำผลงานวิจัยจำนวนมากขึ้นเช่นกัน |
|
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ1. จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม1. วิทยาเขตร้อยเอ็ด ส่งเสริมให้อาจารย์ทำโครงการบริการวิชาการที่ตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นจำนวนมาก2. วิทยาเขตมีกลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงานงานการบริการวิชาการ ประกอบด้วย ศูนย์บริการวิชาการ แผนการบริการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน และ แผนการใช้ประโยชน์ มีรูปแบบโครงการที่สามารถบริการกลุ่มเป้าหมายได้ทั้งภาครัฐ และชุมชนในสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 คณะกรรมการกำกับติดตามการบริการวิชาการและศิลปวัฒนธรรม มีการประเมินความสำเร็จของขงแผนบริการวิชาการ และการนำข้อเสนอแนะไปปรับปรุงพัฒนางานในโอกาสต่อไป ด้วยการใช้กระบวนการ PDCA2.แนวทางเสริมจุดแข็ง1. วิทยาเขตควรส่งเสริม สนับสนุนให้อาจารย์ และนักศึกษามีส่วนร่วมในการบริการวิชาการกับสถาบันมากขึ้น2. ผลักดันให้อาจารย์นำผลงานบริการวิชาการเพื่อรับใช้สังคมไปขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ3. จัดโครงการบริการวิชาการที่ก่อให้เกิดรายได้กับวิทยาเขต3. จุดที่ควรพัฒนา1. วิทยาเขตร้อยเอ็ด ควรจัดทำแผนบริการวิชาการแก่สังคมให้ชัดเจน โดยการกำหนดวัตถุประสงค์ของแผน การกำหนดเกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน เป้าหมายและตัวชี้วัดที่ชัดเจน เพื่อสะท้อนผลการประเมินที่ชัดเจน2. การจัดทำแผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ ควรเขียนให้เห็นประโยชน์ที่ได้จากโครงการบริการวิชาการ (outcome)3. วิทยาเขตควรเป็นกลไกสำคัญในการสร้างความร่วมมือกับทุกหลักสูตรในกำหนด “พื้นที่ชุมชนนวัตกรรมเชิงพุทธ” เพื่อสร้างสรรค์ความรู้ให้กับพื้นที่ชุมชนเป้าหมาย ด้วยองค์ความรู้แบบผสมผสานเชิงบูรณาการระหว่างหลักธรรม และความรู้สมัยใหม่เพื่อเป็นครรลองในการดำเนินรงชีวิต เพื่อนำไปสู่การสร้างเป็นโมเดล (Model) ของวิทยาเขต และพัฒนาเป็นตัวแบบที่มีแนวปฏิบัติที่ดี เป็นแหล่งการวิจัยของอาจารย์ และแหล่งเรียนของนักศึกษาของจังหวัด โดยมีแผนงาน/โครงการอย่างต่อเนื่อง ทั้งระยะสั้น และระยะยาว |
คณะผู้บริหารมีการประชุม ปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาด้านการบริการวิชาการตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมตรวจประเมิน ดังนี้
โดยให้มีการกำหนดวัตถุประสงค์ของแผน การกำหนดเกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน เป้าหมายและตัวชี้วัดที่ชัดเจน เพื่อสะท้อนผลการประเมินที่ชัดเจน และให้จัดทำแผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ เขียนให้เห็นประโยชน์ที่ได้จากโครงการบริการวิชาการมากขึ้น 2. มีการจัดทำ MOU ร่วมกับชุมชน เพื่อสร้างเครือข่ายในการพัฒนาการบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม | มีการดำเนินงานเป็นไปตามแผนที่ตั้งไว้และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน |
|
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
วิทยาเขตมีระบบ และกลไกในการบริหารงานด้านศิลปะและวัฒนธรรม โดยมีศูนย์บริการวิชาการและศิลปวัฒนธรรม ที่มอบหมายให้ฝ่ายงานอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมรับผิดชอบในขับเคลื่อนการดำเนินงาน มีนโยบาย แผนงาน และโครงการ มีคณะกรรมการกำกับติดตามฯผลการดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของแผนงาน จำนวน 3 โครงการหลัก 17 กิจกรรม และสามารถดำเนินการได้ในบางกิจกรรมได้ตามเป้าหมาย แต่หลายกิจกรรมไม่ได้ดำเนินการด้วยสถานการณ์โควิด-19 นอกจากนี้มีการเผยแพร่กิจกรรมด้วยช่องทาง internet และ website ด้วย
2.การประเมินความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผนและโครงการบริการฯ ในการเขียนผลการดำเนินงาน ควรระบุตัวชี้วัดที่เป็น outcome ของแผน กำหนดค่าเป้าหมาย และผลการดำเนินงานให้ชัดเจน
|
คณะผู้บริหารมีการประชุม ปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมตรวจประเมิน ดังนี้ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติงานตามแผนบริการวิชาการ และแผนทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ในการจัดทำแผนให้สอดคล้องกับวิทยาเขตร้อยเอ็ด และความต้องการของชุมชน สังคม การกำหนดวัตถุประสงค์ของแผน การกำหนดเกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน เป้าหมายและตัวชี้วัดที่ชัดเจน เพื่อสะท้อนผลการประเมินที่ชัดเจน นอกจากนี้ยังมีการแต่งตั้งคณะกรรมการกำกับติดตามกิจกรรมแผนบริการวิชาการและแผนทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม เพื่อกำกับติดตามและตรวจสอบการดำเนินงานตามแผน | มีกำหนดวัตถุประสงค์ของแผน การกำหนดเกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน เป้าหมายและตัวชี้วัดที่ชัดเจน เพื่อสะท้อนผลการประเมินที่ชัดเจน |
|
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ
ธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหาร และมีระบบและกลไกการกำกับคุณภาพและมาตรฐานหลักสูตร
3. วิทยาเขต ควรมีการทบทวนการกำกับมาตรฐานหลักสูตร ด้วยการเน้นผลลัพธ์ทางการเรียนรู้มากขึ้น โดยใช้หลักการการจัดการศึกษาที่เรียกว่า Outcome Based Education มาประยุกต์ใช้ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ด้านการเรียนการสอนในหลักสูตรมากขึ้น |
คณะผู้บริหารมีการประชุม ปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาด้านการบริบริหารจัดการตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมตรวจประเมิน ดังนี้
|
3. อาจารย์ผู้สอนมีการประเมินนักศึกษาที่เน้นผลลัพธ์ทางการเรียนรู้มากขึ้น |
สรุปผลการประเมิน
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด
ปีการศึกษา 2565
|
|
|
|
|
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต | ||||
1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม |
|
|
|
|
1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก |
|
|
|
|
1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ |
|
|
|
|
1.4 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี |
|
|
|
|
1.5 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี |
|
|
|
|
1.6 การส่งเสริมสนับสนุน บัณฑิตปริญญาตรี มีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ด้านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสาร |
|
|
|
|
1.7 การส่งเสริมสนับสนุน ทักษะทางด้านพระพุทธศาสนาแก่นักศึกษา |
|
|
|
|
1.8 ร้อยละของผู้ที่สอบผ่านนักธรรมชั้นตรีหรือธรรมศึกษาชั้นตรีระดับอุดมศึกษา |
|
|
|
|
1.9 บัณฑิตปริญญาตรีมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์สอบผ่านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด | ไม่รับการประเมิน | |||
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต |
|
| ||
องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย | ||||
2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ |
|
|
|
|
2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ |
|
|
|
|
2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย |
|
|
|
|
2.4 ผลงานงานวิจัยและ/หรือนวัตกรรมที่พัฒนาปัญญาและคุณธรรม (Knowledge Contribution for Intellectual and Moral Development) |
|
|
|
|
2.5 บุคลากรที่มีบทบาทหรือผลงานที่ได้รับการอ้างอิง (Morality Role Model) |
|
|
|
|
2.6 ผลงานทางวิชาการที่เกิดจากความร่วมมือกับเครือข่าย (Knowledge Contribution from Intellectual and Moral Cultivation Network) |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 การวิจัย |
|
| ||
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ | ||||
3.1 ความเข้มแข็งของเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน (Collaboration Ecosystem for Sustainable Social Development) |
|
|
|
|
3.2 จำนวนหน่วยงานหรือองค์กรชุมชนเป้าหมาย ที่เป็นเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติอย่างต่อเนื่อง ตามแผนบริการวิชาการ |
|
|
|
|
3.3 งบประมาณ/ทรัพยากรวิจัยเพื่อการพัฒนาปัญญาและคุณธรรม (Funding for Knowledge Creation in Intellectual and Mortal Development) |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ |
|
| ||
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม | ||||
4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรม และพระพุทธศาสนา |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม |
|
| ||
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ | ||||
5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ |
|
|
|
|
5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ |
|
| ||
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (20 ตัวบ่งชี้) |
|
|
ผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบคุณภาพ
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด
ปีการศึกษา 2565
องค์ประกอบที่ | จำนวนตัวบ่งชี้ | I | P | O | คะแนนเฉลี่ย | ผลการประเมิน 0.00-1.50 ระดับคุณภาพต้องปรับปรุงเร่งด่วน 1.51-2.50 ระดับคุณภาพต้องปรับปรุง 2.51-3.50 ระดับคุณภาพปานกลาง 3.51-4.50 ระดับคุณภาพดี 4.51-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก |
1 | 8 | 3.22 | 5.00 | 4.24 | 4.37 | ดี |
2 | 6 | 5.00 | 5.00 | 3.25 | 3.83 | ดี |
3 | 3 | - | 4.00 | 4.00 | 4.00 | ดี |
4 | 1 | - | 5.00 | - | 5.00 | ดีมาก |
5 | 2 | - | 4.50 | - | 4.50 | ดี |
รวม | 20 | 3.81 | 4.78 | 3.69 | 4.20 | ดี |
ผลการประเมิน | ดี | ดีมาก | ดี | ดี | ดี |
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ/วิทยาเขต/วิทยาลัยตามองค์ประกอบคุณภาพ ย้อนหลัง 3 ปี
ปีการศึกษา | องค์ประกอบที่ |
ค่าเฉลี่ยผลการประเมิน องค์ประกอบที่ 1-5 |
||||
---|---|---|---|---|---|---|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | ||
2562 | 4.16 | 5.00 | 5.00 | 5.00 | 4.50 | 4.54 |
2563 | 4.21 | 4.67 | 5.00 | 5.00 | 5.00 | 4.56 |
2564 | 4.21 | 5.00 | 5.00 | 5.00 | 4.50 | 4.56 |
2565 | 4.37 | 3.83 | 4.00 | 5.00 | 4.50 | 4.20 |
ข้อเสนอแนะ
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต
องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย
จุดเด่น
- วิทยาเขตมีทุนวิจัยเพิ่มขึ้น
- มีผลงานวิชาการที่เผยแพร่ในวารสารระดับชาติและนานาชาติ เพิ่มมากขึ้น
แนวทางเสริม
- วิทยาเขตควรดำเนินการให้มีการเสนอการจดคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์และดำเนินการตามระบบที่กำหนด
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ
จุดที่ควรพัฒนา
- วิทยาเขตควรกำหนดกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน
- วิทยาเขตควรประเมินความสำเร็จของแผนการบริการวิชาการ ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อนำผลการประเมินไปปรับปรุงในการวางแผนการดำเนินงานในปีต่อไป และเกิดการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน
- วิทยาเขตควรสรรหางบประมาณการบริการวิชาการจากหน่วยงานภายนอกให้เพิ่มมากขึ้น
- วิทยเขตควรสร้างแนวปฏิบัติที่ดีในการบริการวิชาการกับเครือข่ายเพื่อให้เกิดความยั่งยืน
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
จุดเด่น
- มหาวิทยาลัยมีระบบและกลไก มีการศึกษาบริบทของชุมชน เพื่อกำหนดแผนการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การกำกับติดตาม การประเมินผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และนำผลการประเมินไปปรับปรุงแผนงานโครงการหรือกิจกรรม
แนวทางเสริม
- มหาวิทยาลัยควรมีการวิเคราะห์โครงการหรือกิจกรรมการดำเนินงานให้เป็นไปตามนโยบายและยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย แผน วัตถุประสงค์ แลตัวบ่งชี้ ที่กำหนดไว้ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ
จุดแข็ง
- ทางมหาวิทยาลัยมีระบบและกลไกควบคุม และติดตาม การดำเนินงานประกันคุณภาพอย่างมีประสิทธิภาพ
แนวทางเสริม
- มหาวิทยาลัยควรปรับปรุงและเตรียมการ การประเมินคุณภาพมาตรฐานของหลักสูตรและการวิจัยของอาจารย์และบุคคลากร ด้วยการสร้างสรรค์การประเมินเกณฑ์ใหม่ที่เหมาะสม
บทสัมภาษณ์
ผู้แทนชุมชน
- มหาวิทยาลัยให้ชุมชนเข้าร่วมทุกกิจกรรมของมหาวิทยาลัย เช่นงานจิตอาสาพัฒนา จะมีหนังสือเชิญชุมชนไปร่วมงาน เป็นต้น ซึ่งทางชุมชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
- อยากให้มหาวิทยาลัยมีกิจกรรมร่วมกับทางจังหวัดให้มากขึ้น เครือข่ายให้มากขึ้น
ศิษย์เก่า
- ควรปรับปรุงโครงการต่างๆ อยากให้เชิญศิษย์เก่าเพิ่มมากขึ้น ทุกโครงการ
- มีสมาคมศิษย์เก่า แต่ยังไม่เหนียวแน่นมาก
- หลักสูตรมีความโดดเด่นด้านการสอนภาษาไทย โดยมีผลการสอบของเด็กได้ 100%
- อยากให้มหาวิทยลัยจัดติวการสอบบรรจุครู