
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ/วิทยาเขต/วิทยาลัย ปีการศึกษา 2565
คณะสังคมศาสตร์
บทสรุปผู้บริหาร
บทสรุปผู้บริหาร
จากผลการดำเนินงานของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ซึ่งเป็นสถาบัน อุดมศึกษาที่อยู่ในกลุ่ม ค2 (สถาบันเฉพาะทางที่เน้นระดับปริญญาตรี) ได้คะแนนการประเมินตนเอง 3.72 มีคุณภาพอยู่ในระดับดี โดยมีรายละเอียดผลการดำเนินงานทั้ง 5 องค์ประกอบ ดังนี้
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต คณะสังคมศาสตร์รับนโยบายของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมาดำเนินการให้สอดคล้องกับมีระบบและกลไกการเปิดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กำหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และดำเนินการตามระบบที่กำหนด คณะสังคมศาสตร์ได้ปรับปรุงมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรีที่ใช้ในปัจจุบันให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น เพื่อประโยชน์ในการรักษามาตรฐานวิชาการ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของเกณฑ์การรับรองวิทยฐานะและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อให้การบริหารงานด้านวิชาการดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ในส่วนของจำนวนอาจารย์นั้น คณะสังคมศาสตร์มีบุคลากรมีตำแหน่งทางวิชาการจำนวนน้อย ดังนั้น จึงควรวางแผนสนับสนุนให้อาจารย์ทำผลงานทางวิชาการ เพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการให้มากยิ่งขึ้น คณะสังคมศาสตร์ มีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 1 นี้เท่ากับ 3.81 อยู่ในระดับดี
องค์ประกอบที่ 2 งานวิจัย คณะสังคมศาสตร์มีบุคลากรอาจารย์ประจำ โดยมีสถาบันวิจัยญาณสังวรของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยได้จัดสรรงบประมาณเพื่อเป็นทุนวิจัยด้านการวิจัยให้คณะสังคมศาสตร์ การวิจัยมีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 2 นี้เท่ากับ 3.17 อยู่ในระดับปานกลาง
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ คณะแต่งตั้งคณะกรรมการบริการทางวิชาการแก่สังคม เพื่อวางระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม มีหลักเกณฑ์การให้บริการวิชาการแก่สังคม ดำเนินการตามระบบที่กำหนด โดยจัดทำเป็นโครงการและผลการประเมินบริการวิชาการที่บูรณาการการเรียนการสอน และรายงานผลการดำเนินงาน โดยคณะควรบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย ประเมินผลความสำเร็จและนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนและสังคม คณะสังคมศาสตร์มีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 3 นี้เท่ากับ 3.33 อยู่ในระดับปานกลาง
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรมและพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมีนโยบายและแนวทางการทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรมและพระพุทธศาสนา มีโครงการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา และสรุปการดำเนินงานโครงการด้านการทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรมและพระพุทธศาสนา ซึ่งนอกจากการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรมและพระพุทธศาสนา กับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษาแล้ว มหาวิทยาลัยควรนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการ และสร้างมาตรฐานคุณภาพด้านทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรมและพระพุทธศาสนา และมีผลงานเป็นที่ยอมรับ คณะสังคมศาสตร์ มีผลการประเมินตนเอง ในองค์ประกอบที่ 4 นี้เท่ากับ 5.00 อยู่ในระดับดีมาก
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารและการจัดการ คณะสังคมศาสตร์มีการรายงานผลการประเมินตนเองต่อคณะกรรมการประจำคณะ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ กำหนดนโยบาย ทิศทางการดำเนินงานและสามารถถ่ายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ สนับสนุนให้บุคลากรในคณะ ให้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ มีการนัดประชุมโดยคณบดีเพื่อพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ทางการบริหาร
ในด้านการพัฒนาคณะสังคมศาสตร์สู่มหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้ คณะสังคมศาสตร์ ควรมีการกำหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยอย่างน้อยครอบคลุม พันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัย แบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ ทักษะของ ผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี และนำความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ในปีการศึกษาปัจจุบันหรือปีการศึกษาที่ผ่านมา ที่เป็นลายลักษณ์อักษร (explicit knowledge) และจากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง
สำหรับด้านระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ ควรมีการสร้างเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และวางแผนระบบสารสนเทศที่ครอบคลุมการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริหารจัดการ การเงิน และสามารถใช้ในการดำเนินงานด้านคุณภาพระหว่างมหาวิทยาลัย หรือสร้างเครือข่ายการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ และเอกชนอื่น ๆ และนำผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศมาปรับปรุงระบบสารสนเทศ มีการวางระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับพันธกิจของคณะสังคมศาสตร์ โดยการประกาศนโยบายและแนวทางการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ให้บุคลากร คณาจารย์ ได้ทราบแนวทางระบบและกลไกเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งคณะสังคมศาสตร์ ส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยด้านการประกันคุณภาพการศึกษาให้กับบุคลากร เพื่อให้อาจารย์ทุกคณะและทุกส่วนงานสามารถนำผลงานวิจัยนั้นไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาต่อไป คณะสังคมศาสตร์มีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 5 นี้เท่ากับ 5 อยู่ในระดับดีมาก
บทนำ
1.1 ชื่อหน่วยงาน ที่ตั้ง และประวัติความเป็นมาโดยย่อ
1.1 ชื่อส่วนงาน ที่ตั้ง และประวัติความเป็นมาโดยย่อ
คณะสังคมศาสตร์ เป็นคณะหนึ่งของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ มีข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับคณะดังนี้
1.1.1 ชื่อคณะ คณะสังคมศาสตร์
ภาษาไทย : คณะสังคมศาสตร์
ภาษาอังกฤษ : FACULTY OF SOCIAL SCIENCES
อักษรย่อ คือ SO
1.1.2 สถานที่ตั้ง เลขที่ 248 อาคารสมเด็จพระวันรัต ถนนศาลายา-นครชัยศรี
ตำบล ศาลายา อำเภอ พุทธมณฑล จังหวัด นครปฐม 73170
โทรศัพท์ 02 – 444 - 6000 ต่อ 1147 - 1148
โทรสาร 02 -444-6080
Website www.Social.mbu.ac.th
1.2 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์และพันธกิจ
1.2.1 ปรัชญา (Philosophy)
ความรู้คู่คุณธรรมนำพัฒนาสังคม
1.2.2 ปณิธาน (Aspiration)
สร้างบัณฑิตให้รู้คิด รู้ทำ สร้างสรรค์สังคม
1.2.3 วิสัยทัศน์ (Vision Statements)
มุ่งสร้างองค์ความรู้ทางสังคมศาสตร์ เพื่อพัฒนาสังคมตามแนวทางพระพุทธศาสนา
1.2.4 พันธกิจ (Mission Statements)
พันธกิจที่ 1 ผลิตบัณฑิตด้านสังคมศาสตร์ที่มีรับผิดชอบต่อสังคม
พันธกิจที่ 2 สร้างสรรค์ธรรมวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างสุขภาวะทางสังคมอย่างยั่งยืน
พันธกิจที่ 3 บริการวิชาการด้านสังคมศาสตร์และหลักธรรมเพื่อเป็นที่พึ่งแก่สังคม
พันธกิจที่ 4 ทำนุบำรุงและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทยตามวิถีพุทธ
พันธกิจที่ 5 การบริหารและพัฒนาองค์กรสู่ความยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล
1.3 เอกลักษณ์มหาวิทยาลัย อัตลักษณ์มหาวิทยาลัยและอัตลักษณ์บัณฑิต
เอกลักษณ์
บริการวิชาการพระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ
การชี้นำ ป้องกัน หรือ แก้ปัญหาของสังคม 2 เรื่อง
- ภายในมหาวิทยาลัย จิตสาธารณะ หรือ จิตสำนึกทางสังคม
- ภายนอกมหาวิทยาลัย การนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและแนวพระราชดำรัสต่าง ๆ ไปใช้ในการแก้ปัญหาสังคม
อัตลักษณ์
บัณฑิตมีความรอบรู้ในหลักพระพุทธศาสนาและสามารถเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ
1.2 ปรัชญา ปณิธาน เป้าหมายและวัตถุประสงค์
1.2 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์และพันธกิจ
1.2.1 ปรัชญา (Philosophy)
ความรู้คู่คุณธรรมนำพัฒนาสังคม
1.2.2 ปณิธาน (Aspiration)
สร้างบัณฑิตให้รู้คิด รู้ทำ สร้างสรรค์สังคม
1.2.3 วิสัยทัศน์ (Vision Statements)
มุ่งสร้างองค์ความรู้ทางสังคมศาสตร์ เพื่อพัฒนาสังคมตามแนวทางพระพุทธศาสนา
1.2.4 พันธกิจ (Mission Statements)
พันธกิจที่ 1 ผลิตบัณฑิตด้านสังคมศาสตร์ที่มีรับผิดชอบต่อสังคม
พันธกิจที่ 2 สร้างสรรค์ธรรมวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างสุขภาวะทางสังคมอย่างยั่งยืน
พันธกิจที่ 3 บริการวิชาการด้านสังคมศาสตร์และหลักธรรมเพื่อเป็นที่พึ่งแก่สังคม
พันธกิจที่ 4 ทำนุบำรุงและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทยตามวิถีพุทธ
พันธกิจที่ 5 การบริหารและพัฒนาองค์กรสู่ความยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล
1.3 เอกลักษณ์มหาวิทยาลัย อัตลักษณ์มหาวิทยาลัยและอัตลักษณ์บัณฑิต
เอกลักษณ์
บริการวิชาการพระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ
การชี้นำ ป้องกัน หรือ แก้ปัญหาของสังคม 2 เรื่อง
- ภายในมหาวิทยาลัย จิตสาธารณะ หรือ จิตสำนึกทางสังคม
- ภายนอกมหาวิทยาลัย การนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและแนวพระราชดำรัสต่าง ๆ ไปใช้ในการแก้ปัญหาสังคม
อัตลักษณ์
บัณฑิตมีความรอบรู้ในหลักพระพุทธศาสนาและสามารถเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ
1.4 รายชื่อผู้บริหาร กรรมการบริหาร
|
1.5 รายชื่อผู้บริหาร กรรมการบริหาร และกรรมการสภาชุดปัจจุบัน
รายนามคณะกรรมการประจำคณะสังคมศาสตร์
- คณบดีคณะสังคมศาสตร์ (พระมหาสุรไกร ชินพุทฺธิสิริ) ประธานกรรมการ
- รองอธิการบดี (พระครูปลัดสุวัฑฒนพรหมจริยคุณ) กรรมการ
- หัวหน้าภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา กรรมการ
- หัวหน้าภาควิชารัฐศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ กรรมการ
- ดร.นภารัตน์ กิตติรัตนมงคล กรรมการ
- นายปริญญา ตรีธัญญา กรรมการ
- นางสาวณัฐชยา กำแพงแก้ว กรรมการ
- พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์, ดร. กรรมการ
- รศ.ดร.สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ กรรมการ
- รศ.อภิญญา เวชยชัย กรรมการ
- พระครูธรรมคุต กรรมการและเลขานุการ
- ว่าที่ร้อยตรี ศรายุทธ เหลื่อมแก้ว ผู้ช่วยเลขานุการ
- นางสาวอธิชา เอี่ยมวิลัย ผู้ช่วยเลขานุการ
1.5 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน
ปัจจุบันคณะสังคมศาสตร์ ได้เปิดทำการสอน 2 ภาควิชา และ 5 หลักสูตร คือ
1.6.1 ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
- หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
- หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
1.6.2 ภาควิชารัฐศาสตร์และเศรษฐศาสตร์
- หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง
- หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต
- หลักสูตรรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต
1.6 จำนวนนักศึกษา
จำนวนนักศึกษาปีการศึกษา 2565 จำนวนทั้งสิ้น 380 รูป/คน
จำนวนนักศึกษาปีการศึกษา 2562 - 2565 มีจำนวนนักศึกษาทั้งสิ้น ดังนี้
สาขาวิชา |
ปีการศึกษา 2562 |
ปีการศึกษา 2563 |
ปีการศึกษา 2564 |
ปีการศึกษา 2565 |
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา |
2 |
2 |
5 |
7 |
สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ |
7 |
33 |
42 |
47 |
สาขาวิชาการปกครอง |
55 |
49 |
327 |
309 |
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต |
|
|
16 |
14 |
หลักสูตรรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต |
|
|
15 |
3 |
รวมนักศึกษาทั้งสิ้น |
64 |
84 |
405 |
380 |
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาปีการศึกษา 2565 มีจำนวนผู้สำเร็จการทั้งสิ้น 113 รูป/คน
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาปีการศึกษา 2562-2565 มีจำนวนผู้สำเร็จการทั้งสิ้น ดังนี้
สาขาวิชา |
ปีการศึกษา 2562 |
ปีการศึกษา 2563 |
ปีการศึกษา 2564 |
ปีการศึกษา 2565 |
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา |
3 |
3 |
6 |
3 |
สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ |
26 |
8 |
10 |
10 |
สาขาวิชาการปกครอง |
52 |
43 |
69 |
89 |
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต |
|
|
13 |
11 |
หลักสูตรรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต |
|
|
- |
- |
รวมผู้สำเร็จการทั้งสิ้น |
81 |
54 |
98 |
113 |
1.7 จำนวนอาจารย์และบุคลากร
1.7 อาจารย์และบุคลากร
1.7.1 อาจารย์ประจำ
ที่ |
ชื่อ - ฉายา/นามสกุล |
สาขาวิชา |
วุฒิการศึกษา |
วันที่บรรจุ |
ปีเกษียณ |
1. |
พระครูธรรมคุต |
สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา |
ปริญญาโท |
01 พ.ค. 2563 |
30 ก.ย. 2592 |
2. |
รศ.ประจวบ ประเสริฐสังข์ |
สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา |
ปริญญาโท |
01 ก.พ. 2539 |
30 ก.ย. 2567 |
3. |
รศ.ดร.สุเทพ สุวีรางกูร |
สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา |
ปริญญาเอก |
01 มิ.ย. 2540 |
30 ก.ย. 2571 |
4. |
นายสงคราม จันทร์ทาคีรี |
สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา |
ปริญญาโท |
อาจารย์สัญญาจ้าง |
สิ้นสุดสัญญาจ้าง 30 ก.ย. 2566 |
5. |
นายชาตรี สุขสบาย |
สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา |
ปริญญาโท |
อาจารย์สัญญาจ้าง |
สิ้นสุดสัญญาจ้าง 30 ก.ย. 2566 |
6. |
พระมหาสุรไกร ชินพุทฺธสิริ |
สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ |
ปริญญาโท |
01 ต.ค. 2557 |
30 ก.ย. 2586 |
7. |
นายปริญญา ตรีธัญญา |
สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ |
ปริญญาโท |
03 พ.ค. 2548 |
30 ก.ย. 2578 |
8. |
ผศ.ณัฐชยา กำแพงแก้ว |
สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ |
ปริญญาโท |
01 ต.ค. 2557 |
30 ก.ย. 2588 |
9. |
ผศ.สาวณัฐหทัย นิรัติศัย |
สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ |
ปริญญาโท |
01 ต.ค. 2557 |
30 ก.ย. 2587 |
10. |
ผศ.กฤติกา ชนะกุล |
สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ |
ปริญญาโท |
01 ต.ค. 2557 |
30 ก.ย. 2587 |
11. |
พระมหาอรุณ ปญฺารุโณ |
การปกครอง |
ปริญญาเอก |
03 พ.ค. 2548 |
30 ก.ย. 2576 |
12. |
พระครูปลัดสุวัฑฒนพรหมจริยคุณ |
การปกครอง |
ปริญญาโท |
01 ธ.ค. 2553 |
30 ก.ย. 2585 |
13. |
ผศ.ดร.กัญจิรา วิจิตรวัชรารักษ์ |
การปกครอง |
ปริญญาเอก |
01 ต.ค. 2557 |
30 ก.ย. 2582 |
14. |
นางสาวสุพัตรา สันติรุ่งโรจน์ |
การปกครอง |
ปริญญาโท |
02 พ.ค. 2565 |
30 ก.ย. 2597 |
15. |
นายธนะชัย สามล |
การปกครอง |
ปริญญาโท |
อาจารย์สัญญาจ้าง |
สิ้นสุดสัญญาจ้าง 30 ก.ย. 2566 |
16. |
ดร.นภารัตน์ กิตติรัตนมงคล |
การปกครอง |
ปริญญาเอก |
01 มิ.ย. 2563 |
30 ก.ย. 2576 |
17. |
รศ.ดร.สุกิจ ชัยมุสิก |
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต หลักสูตรรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต |
ปริญญาเอก |
อาจารย์สัญญาจ้าง |
สิ้นสุดสัญญาจ้าง 30 ก.ย. 2566 |
18. |
ผศ.ดร.สมภพ ระงับทุกข์ |
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต หลักสูตรรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต |
ปริญญาเอก |
อาจารย์สัญญาจ้าง |
สิ้นสุดสัญญาจ้าง 30 ก.ย. 2566
|
19. |
ดร.เกษฎา ผาทอง |
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต หลักสูตรรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต |
ปริญญาเอก |
02 พ.ค. 2565 |
30 ก.ย. 2595 |
20. |
ดร.ฐากูร หอมกลิ่น |
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต หลักสูตรรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต |
ปริญญาเอก |
อาจารย์สัญญาจ้าง |
สิ้นสุดสัญญาจ้าง 30 ก.ย. 2566
|
21. |
ดร.อารดา ฉิมมากูร |
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต หลักสูตรรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต |
ปริญญาเอก |
อาจารย์สัญญาจ้าง |
สิ้นสุดสัญญาจ้าง 30 ก.ย. 2566
|
1.7.2 เจ้าหน้าที่
ที่ |
ชื่อ - ฉายา / นามสกุล |
วุฒิการศึกษา |
|
1. |
ว่าที่ร้อยตรีศรายุทธ |
เหลื่อมแก้ว |
ปริญญาโท |
2. |
นางสาวอธิชา |
เอี่ยมวิลัย |
ปริญญาโท |
3. |
นายณัฏฐพล |
บุดดีวรรณ |
ปริญญาตรี |
4. |
นางสาวณัฐฐา |
แจ้งอักษร |
ปริญญาโท |
1.8 ข้อมูลพื้นฐานโดยย่อเกี่ยวกับงบประมาณ และอาคารสถานที่
1.8 ข้อมูลพื้นฐานโดยย่อเกี่ยวกับงบประมาณ และอาคารสถานที่
1.8.1 งบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 1,588,000 บาท
1.8.2 อาคารสถานที่คณะสังคมศาตร์ เลขที่ 248 อาคารสมเด็จพระวันรัต ถนนศาลายา-นครชัยศรี
ตำบล ศาลายา อำเภอ พุทธมณฑล จังหวัด นครปฐม 73170
โทรศัพท์ 02 – 444 - 6000 ต่อ 1147 - 1148
โทรสาร 02 -444-6080
Website www.Social.mbu.ac.th
1.9 เอกลักษณ์หรือวัฒนธรรมของสถาบัน
1.3 เอกลักษณ์มหาวิทยาลัย อัตลักษณ์มหาวิทยาลัยและอัตลักษณ์บัณฑิต
เอกลักษณ์
บริการวิชาการพระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ
การชี้นำ ป้องกัน หรือ แก้ปัญหาของสังคม 2 เรื่อง
- ภายในมหาวิทยาลัย จิตสาธารณะ หรือ จิตสำนึกทางสังคม
- ภายนอกมหาวิทยาลัย การนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและแนวพระราชดำรัสต่าง ๆ ไปใช้ในการแก้ปัญหาสังคม
1.10 ตารางแสดงผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผลการประเมินปีที่ผ่านมา
ที่ | ข้อเสนอแนะกรรมการปีที่แล้ว | ความคิดเห็นของคณะ | ผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะกรรมการ |
---|---|---|---|
แผนพัฒนาฟื้นฟู (Improvement Plan) ระดับคณะสังคมศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2565 องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต 1. ควรมีการนำผลการประเมินระดับหลักสูตรมาปรับปรุงเพื่อการพัฒนาตามลำดับ |
คณะควรตั้งคณะทำงานเพื่อวางแผน ติดตาม และตรวจสอบการประกันคุณภาพหลักสูตร โดย กำหนดการในการกำกับติดตาม วางแผนพัฒนาเป็น ระยะ ๆ ผ่านโครงการ/กิจกรรม ที่ช่วยในการให้แต่ละหลักสูตรมีผลการดำเนินงานด้านต่าง ๆ ทั้ง 6 องค์ประกอบให้มีคุณภาพสูงขึ้นอย่างชัดเจนในแต่ละ รอบปีการประเมิน และศึกษาทบทวนเกณฑ์ใหม่การประเมินคุณภาพการศึกษาประกันภายในระดับหลักสูตร | คณะได้ตั้งคณะทำงานเพื่อวางแผน ติดตาม และตรวจสอบการประกันคุณภาพหลักสูตร โดย กำหนดการในการกำกับติดตาม วางแผนพัฒนาเป็น ระยะ ๆ ผ่านโครงการ/กิจกรรม ที่ช่วยในการให้แต่ละหลักสูตรมีผลการดำเนินงานด้านต่าง ๆ ทั้ง 6 องค์ประกอบ ให้มีคุณภาพสูงขึ้นอย่างชัดเจนในแต่ละรอบปีการประเมิน และได้อบรมศึกษาทบทวนเกณฑ์ใหม่การประเมินคุณภาพการศึกษาประกันภายในระดับหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2565 อย่างต่อเนื่อง
|
|
2. ทางคณะควรมีเเผนพัฒนาอาจารย์เพื่อเป็นการเพิ่มคุณวุฒิอาจารย์ การเข้าสู่ตำเเหน่งทางวิชาการ ทั้งระยะสั้นระยะยาว |
คณะควรกำกับติดตามแผนพัฒนาบุคลากร คณะสังคมศาสตร์ เพื่อจัดทำแผนการบริหารและพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน และกำหนดให้คณะกรรมการปฏิบัติหน้าที่ ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการส่งเสริม พัฒนาบุคลากรของคณะสังคมศาสตร์พัฒนาอาจารย์เพื่อเป็นการเพิ่มคุณวุฒิอาจารย์ การเข้าสู่ตำเเหน่งทางวิชาการ ทั้งระยะสั้นระยะยาว | คณะได้กำกับติดตามแผนพัฒนาบุคลากร จากแผนการบริหารและพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน โดยคณะกรรมการปฏิบัติหน้าที่ ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการส่งเสริม พัฒนาบุคลากรของคณะสังคมศาสตร์พัฒนาอาจารย์เพื่อเป็นการเพิ่มคุณวุฒิอาจารย์ การเข้าสู่ตำเเหน่งทางวิชาการ ทั้งระยะสั้นระยะยาว ผล - อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเพิ่มขึ้น จำนวน 1 รูป - อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้น จำนวน 3 คน
|
|
องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย 1. ควรมีการสรรหา จัดสรร เเหล่งทุนทั้งภายในเเละภายนอกเพิ่มขึ้น |
คณะควรมีการสรรหา จัดสรร เเหล่งทุนทั้งภายในเเละภายนอกเพิ่มขึ้น | คณะสังคมศาสตร์ มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนให้บุคลากรทำงานวิจัยที่มีคุณภาพ โดยการประชาสัมพันธ์เชิญชวนนักวิจัยส่งข้อเสนอโครงการวิจัยประจำปี 2565 และคณาจารย์ของคณะได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันจากงบประมาณแผ่นดิน ได้แก่ ทุนวิจัย จำนวน 8 ทุน เป็นเงิน 1,422,000 บาท |
|
2. ควรมีการจัดสรรงบประมาณของคณะเพื่อสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัย ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ |
คณะควรมีการจัดสรรงบประมาณของคณะเพื่อสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัย ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ | คณะสังคมศาสตร์ได้จัดสรรงบประมาณจำนวน 63,000 บาท เพื่อเป็นการสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัย การประชุมวิชาการ จัดโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 ระยะที่ 1 (แบบออนไลน์) ระยะเวลาดำเนินการเดือนเมษายน – 30 มิถุนายน 2566 เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการของ มหาวิทยาลัยสู่สาธารณะด้วยการตีพิมพ์ทางวิชาการด้านวิจัยและสหวิทยาการพุทธรัฐศาสตร์สู่การพัฒนาสังคม โลกยุคดิจิทัล เพื่อเป็นเวทีสาธารณะเสนอแนะผลงานวิชาการในประเด็นที่เกี่ยวกับวิจัยและสหวิทยาการพุทธ รัฐศาสตร์สู่การพัฒนาสังคมโลกยุคดิจิทัล |
|
3. มหาวิทยาลัย เเละคณะ ควรมีระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัย |
คณะ ควรมีระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัย | คณะสังคมศาสตร์ ได้มีการดำเนินงานในเรื่องขั้นตอนและกระบวนการวิจัย โดยผ่านสถาบันวิจัยญาณสังวร ซึ่งมีการดำเนินการเกี่ยวกับระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัย โดยกลไกเพื่อช่วยคุ้มครองสิทธิ์ของสถาบันวิจัยฯ มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1) นักวิจัยทำหนังสือขออนุมัติดำเนินโครงการวิจัย 2) นักวิจัยทำหนังสือแต่งตั้งที่ปรึกษาการวิจัย นักวิจัย และผู้ช่วยการวิจัย 3) นักวิจัยขออนุมัติทำสัญญาการวิจัย โดยในสัญญาการวิจัยนั้น ได้กำหนดเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัยในสัญญาการวิจัย โดยกำหนดให้ผลการวิจัยที่ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยตามสัญญานี้ ผู้รับเงินอุดหนุนการวิจัย ตกลงให้เป็นกรรมสิทธิ์ / ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยแต่เพียงผู้เดียว |
|
4. คณะควรมีการสนับสนุนส่งเสริมการตีพิมพ์ผลงานอาจารย์ให้อยู่ในฐานที่สูงขึ้น |
คณะควรมีการสนับสนุนส่งเสริมการตีพิมพ์ผลงานอาจารย์ให้อยู่ในฐานที่สูงขึ้น | คณะได้มีการสนับสนุนส่งเสริมการตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการในระดับฐานที่สูงขึ้น |
|
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ 1. นำผลการบริการวิชาการการประเมินของเเผนบริการวิชาการเสนอต่อคณะกรรมการประจำคณะเพื่อพิจารณา ปรับปรุงเเละพัฒนาเเผนต่อไป |
คณะควรนำผลการบริการวิชาการการประเมินของเเผนบริการวิชาการเสนอต่อคณะกรรมการประจำคณะเพื่อพิจารณา ปรับปรุงเเละพัฒนาเเผนต่อไป | นำผลการบริการวิชาการการประเมินของเเผนบริการวิชาการเสนอต่อคณะกรรมการประจำคณะเพื่อพิจารณา ปรับปรุงเเละพัฒนาเเผนต่อไป |
|
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 1. ควรมีการจัดทำเเผนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมทั้งระยะสั้น เเละระยะยาว |
คณะควรมีการจัดทำเเผนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมทั้งระยะสั้น เเละระยะยาว | คณะสังคมศาสตร์มีการส่งเสริมและดำเนินงานด้านการทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม และพระพุทธศาสนา โดยมีแผนงานและแนวทางในการบริหารงานของคณะที่มีความสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางที่กำหนดไว้ โดยกระบวนการจัดทำแผนการทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรม และพระพุทธศาสนา ได้นำผลประเมินปีการศึกษา 2564 มาพิจารณาจัดทำแผนในปีการศึกษา 2565 |
|
2. ควรมีการทำ MOU สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอก |
คณะควรมีการทำ MOU สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอก | คณะได้ดำเนินการในการทำ MOU สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอก ในปีงบประมาณ 2567 |
|
3. ควรมีการระบุคณะทำงานในการกำกับติดตามเเผนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม |
คณะควรมีการระบุคณะทำงานในการกำกับติดตามเเผนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม | คณะกรรมการทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม และพระพุทธศาสนาได้ทำการประเมินความสำเร็จตามตัวบ่งชี้วัดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนด้านทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม และพระพุทธศาสนา ประจำปีการศึกษา 2565 มีผลการประเมินบรรลุทุกตัวบ่งชี้ตามวัตถุประสงค์ของแผนด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม |
|
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ 1. ควรมีการวิเคราะห์และระบุปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยภายนอก |
คณะควรวิเคราะห์ ความเสี่ยงจากเหตุปัจจัยภายนอก (External) เกิดจากสาเหตุภายนอกองค์กรที่ส่งผลกระทบต่อการดําเนินงานหรือฐานะทางการเงินขององค์กร เช่น การเปลี่ยนแปลงของ ข้อกฎหมาย ภัยธรรมชาติ หรือโรคติดต่ออุบัติใหม่ เป็นต้น | คณะได้วิเคราะห์ ความเสี่ยงจากเหตุปัจจัยภายนอก (External) เกิดจากสาเหตุภายนอกองค์กรที่ส่งผลกระทบต่อการดําเนินงานหรือฐานะทางการเงินขององค์กร เช่น การเปลี่ยนแปลงของ ข้อกฎหมาย ภัยธรรมชาติ หรือโรคติดต่ออุบัติใหม่ เป็นต้ |
|
2. ควรนำผลการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยมาปรับปรุงพัฒนา หาเเนวทางในการเข้าถึงจุดคุ้มทุน |
คณะควรนำผลการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยมาปรับปรุงพัฒนา หาเเนวทางในการเข้าถึงจุดคุ้มทุน (Break Even Point)
| คณะได้นำผลการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยมาปรับปรุงพัฒนา หาเเนวทางในการเข้าถึงจุดคุ้มทุน(Break Even Point) ในทุกหลักสูตร |
|
3. ผลงานของหลักสูตรด้านงานประกันคุณภาพ ควรมีการพัฒนาปรับปรุงให้ได้มาตรฐานสูงขึ้น |
คณะควรนำผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน เมื่อได้นำผลการประเมินประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร และข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการตรวจและประเมินคุณภาพการศึกษา จากปีการศึกษา 2564 โดยมีการทบทวน และวิเคราะห์ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการฯ ในทุกระดับ เพื่อจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาภายใน ทุกระดับ (Improvement Plan) ประจำปีการศึกษา 2565 ซึ่งเป็นแนวทางในการกำหนด แผนงาน/กิจกรรม ที่จะพัฒนาปรับปรุง และกำหนดเป้าหมาย เพื่อให้ผู้รับผิดชอบสามารถปฏิบัติงานให้บรรลุตามตัวชี้วัดของแผน และสามารถดำเนินงานตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด ส่งผลให้การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร พัฒนาปรับปรุงให้ได้มาตรฐานสูงขึ้น | คณะได้นำผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน เมื่อได้นำผลการประเมินประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร และข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการตรวจและประเมินคุณภาพการศึกษา จากปีการศึกษา 2564 โดยมีการทบทวน และวิเคราะห์ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการฯ ในทุกระดับ เพื่อจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาภายใน ทุกระดับ (ImprovementPlan) ประจำปีการศึกษา 2565 ซึ่งเป็นแนวทางในการกำหนด แผนงาน/กิจกรรม ที่จะพัฒนาปรับปรุง และกำหนดเป้าหมาย เพื่อให้ผู้รับผิดชอบสามารถปฏิบัติงานให้บรรลุตามตัวชี้วัดของแผน และสามารถดำเนินงานตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด ส่งผลให้การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร พัฒนาปรับปรุงให้ได้มาตรฐานสูงขึ้น |
สรุปผลการประเมิน
คณะสังคมศาสตร์
ปีการศึกษา 2565
|
|
|
|
|
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต | ||||
1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม |
|
|
|
|
1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก |
|
|
|
|
1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ |
|
|
|
|
1.4 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี |
|
|
|
|
1.5 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี |
|
|
|
|
1.6 การส่งเสริมสนับสนุน บัณฑิตปริญญาตรี มีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ด้านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสาร |
|
|
|
|
1.7 การส่งเสริมสนับสนุน ทักษะทางด้านพระพุทธศาสนาแก่นักศึกษา |
|
|
|
|
1.8 ร้อยละของผู้ที่สอบผ่านนักธรรมชั้นตรีหรือธรรมศึกษาชั้นตรีระดับอุดมศึกษา |
|
|
|
|
1.9 บัณฑิตปริญญาตรีมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์สอบผ่านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด | ไม่รับการประเมิน | |||
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต |
|
| ||
องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย | ||||
2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ |
|
|
|
|
2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ |
|
|
|
|
2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย |
|
|
|
|
2.4 ผลงานงานวิจัยและ/หรือนวัตกรรมที่พัฒนาปัญญาและคุณธรรม (Knowledge Contribution for Intellectual and Moral Development) |
|
|
|
|
2.5 บุคลากรที่มีบทบาทหรือผลงานที่ได้รับการอ้างอิง (Morality Role Model) |
|
|
|
|
2.6 ผลงานทางวิชาการที่เกิดจากความร่วมมือกับเครือข่าย (Knowledge Contribution from Intellectual and Moral Cultivation Network) |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 การวิจัย |
|
| ||
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ | ||||
3.1 ความเข้มแข็งของเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน (Collaboration Ecosystem for Sustainable Social Development) |
|
|
|
|
3.2 จำนวนหน่วยงานหรือองค์กรชุมชนเป้าหมาย ที่เป็นเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติอย่างต่อเนื่อง ตามแผนบริการวิชาการ |
|
|
|
|
3.3 งบประมาณ/ทรัพยากรวิจัยเพื่อการพัฒนาปัญญาและคุณธรรม (Funding for Knowledge Creation in Intellectual and Mortal Development) |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ |
|
| ||
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม | ||||
4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรม และพระพุทธศาสนา |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม |
|
| ||
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ | ||||
5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ |
|
|
|
|
5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ |
|
| ||
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (20 ตัวบ่งชี้) |
|
|
ผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบคุณภาพ
คณะสังคมศาสตร์
ปีการศึกษา 2565
องค์ประกอบที่ | จำนวนตัวบ่งชี้ | I | P | O | คะแนนเฉลี่ย | ผลการประเมิน 0.00-1.50 ระดับคุณภาพต้องปรับปรุงเร่งด่วน 1.51-2.50 ระดับคุณภาพต้องปรับปรุง 2.51-3.50 ระดับคุณภาพปานกลาง 3.51-4.50 ระดับคุณภาพดี 4.51-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก |
1 | 8 | 4.09 | 3.50 | 4.15 | 3.81 | ดี |
2 | 6 | 5.00 | 4.00 | 2.50 | 3.17 | ปานกลาง |
3 | 3 | - | 5.00 | 2.50 | 3.33 | ปานกลาง |
4 | 1 | - | 5.00 | - | 5.00 | ดีมาก |
5 | 2 | - | 5.00 | - | 5.00 | ดีมาก |
รวม | 20 | 4.39 | 4.22 | 2.91 | 3.72 | ดี |
ผลการประเมิน | ดี | ดี | ปานกลาง | ดี | ดี |
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ/วิทยาเขต/วิทยาลัยตามองค์ประกอบคุณภาพ ย้อนหลัง 3 ปี
ปีการศึกษา | องค์ประกอบที่ |
ค่าเฉลี่ยผลการประเมิน องค์ประกอบที่ 1-5 |
||||
---|---|---|---|---|---|---|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | ||
2562 | 3.75 | 4.67 | 5.00 | 5.00 | 4.50 | 4.27 |
2563 | 3.55 | 5.00 | 5.00 | 5.00 | 4.50 | 4.26 |
2564 | 4.23 | 4.67 | 5.00 | 5.00 | 5.00 | 4.57 |
2565 | 3.81 | 3.17 | 3.33 | 5.00 | 5.00 | 3.72 |
ข้อเสนอแนะ
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต
เนื่องจากคะเเนนระดับหลักสูตรโดยรวมมีเเนวโน้มลดลงเนื่องจากมีเกณฑ์ประกันคุณภาพ มมร เกณฑ์ใหม่
คณะควรมีการสนับสนุน เเผนพัฒนาบุคลกรสายวิชาการระยะสั้น เรื่องคุณวุฒิ เเละระยะยาว เรื่องตำเเหน่งทางวิชาการ
คณะควรมีการจัดทำเเผนพัฒนานักศึกษาที่ถอดมาจากเเผนมหาวิทยาลัย ด้านภาษาอังกฤษ เทคโนโลยี เเละพระพุทธศาสนา
องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย
คณะควรมีการสนับให้มีการตีพิมพ์เผยเเพร่ร่วมกับเครือข่ายนอมหาวิทยาลัย เเละควรมีการสนับสนุนการอ้างอิงผลงานทางวิชาการ
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ
คณะควรมีการกำกับติดตามกิจกรรม/โครงการ ที่ทำร่วมกับเครือข่ายภายนอกเเละชุมชนด้านการบริการวิชาการ อย่างต่อเนื่อง
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
-องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ
การวิเคาราะห์ต้นทุต่อหน่วยของคณะ ควรมีการพิจราณารายงานผลทุกหลักสูตร เพื่อเป็นเเนวทางในการบริหารจัดการของหลักสูตร เเละคณะในการจัดทำกลยุทธ์บริหารจัดการ
คณะควรมีการกำกับติดตาม ผลการดำเนินงานของทุกหลักสูตร ให้มีเเนวโน้มผลคะเเนนที่ดีขึ้น
บทสัมภาษณ์
นักศึกษาปัจจุบันคณะมีการกำกับติดตามนักศึกษาเป็นอย่างดี ช่วยเหลือทางด้านการศึกษาและการใช้ชีวิต มีโครงการ/กิจกรรมต่างๆที่ชาวยพัฒนานักศึกษาได้ ควรปรับปรุงเรื่องอาคารสถานที่
ศิษย์เก่าสามารถนำความรู้ทางด้านวิชาการไปพัฒนาอาชีพ และการเรียนกับพระทำให้สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อื่นในการทำงานได้เป็นอย่างดี ควรมีการปรับปรุงเรื่องการประชาสัมพันธ์
ผู้ปกครองลูกหลานมีความประพฤติที่ดีขึ้นมีความรับผิดชอบตรงต่อเวลาทำตัวให้เป็นประโยชน์สามารถเข้าสังคมได้อย่างดีควรมีการปรับปรุงเรื่องการประชาสัมพันธ์
ตัวเเทนชุมชน มีการให้ความร่วมมือจากคณะสังคมศาสตร์ในการทำกิจกรรมเเละติดต่อสื่อสารด้านข่าวสารต่างๆ
ภาพถ่าย