
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ/วิทยาเขต/วิทยาลัย ปีการศึกษา 2564
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา
บทสรุปผู้บริหาร
จากการดำเนินงานของวิทยาเขตล้านนา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาที่อยู่ในกลุ่ม ค2 (สถาบันเฉพาะทางที่เน้นระดับปริญญาตรี) ได้คะแนนการประเมินตนเอง คะแนนเฉลี่ย…4.39....อยู่ในระดับดี โดยมีรายละเอียดผลการดำเนินงานทั้ง 5 องค์ประกอบ ดังนี้
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา มีระบบและกลไกการเปิดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กำหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และดำเนินการตามระบบ ที่กำหนดให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา และเพื่อให้การบริหารงานด้านวิชาการดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา มีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 1 นี้เท่ากับคะแนนเฉลี่ย 3.84 อยู่ในระดับดี
องค์ประกอบที่ 2 งานวิจัย มหาวิทยาลัยมีการจัดตั้งสถาบันวิจัยญาณสังวรเพื่อวางนโยบายและแผนยุทธศาสตร์งานวิจัย โดยจัดสรรงบประมาณของมหาวิทยาลัยเพื่อเป็นทุนวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ทางมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา มีการส่งเสริมการทำวิจัยของอาจารย์ และอาจารย์ผู้สอนมีความสนใจเรื่องการทำวิจัย ดังมีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 2 นี้เท่ากับ คะแนนเฉลี่ย 4.67 อยู่ในระดับดี
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา มีการจัดโครงการบริการทางวิชาการแก่สังคม แต่โครงการมีการบูรณาการในเรื่องของการวิจัย ดังนั้น เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนและสังคม มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา จึงมีการวางแผนการจัดทำโครงการให้บูรณาการกับการเรียนการสอนในปีการศึกษาต่อไป และผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 3 นี้เท่ากับ คะแนนเฉลี่ย 5.00 อยู่ในระดับดีมาก
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม วิทยาเขตล้านนา ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง มีนโยบายและแนวทางการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม มีโครงการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม กับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา และสรุปการดำเนินงานโครงการด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา มีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 4 นี้เท่ากับ คะแนนเฉลี่ย 5.00อยู่ในระดับดีมาก
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา มีทิศทางการดำเนินงานและสามารถถ่ายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ และให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการโดยมีสภามหาวิทยาลัยทำหน้าที่ในการกำกับดูแลการทำงานให้มีประสิทธิภาพ และต้องบริหารจัดการด้านต่างๆ ให้มีคุณภาพ เช่น ทรัพยากรบุคคล ระบบฐานข้อมูล การบริหารความเสี่ยง การบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารทรัพยากรทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา มีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 5 นี้เท่ากับ คะแนนเฉลี่ย 5.00อยู่ในระดับดีมาก
ผลการตรวจและประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับวิทยาเขต ประจำปีการศึกษา 2564
ผลการประเมินในภาพรวมตามองค์ประกอบคุณภาพ
องค์ประกอบ |
คะแนนที่ได้ |
ระดับคุณภาพ |
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต |
3.84 |
การดำเนินดีงานระดับดี |
องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย |
4.67 |
การดำเนินงานระดับดีมาก |
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ |
5.00 |
การดำเนินงานระดับดีมาก |
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม |
5.00 |
การดำเนินงานระดับดีมาก |
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ |
5.00 |
การดำเนินงานระดับดีมาก |
เฉลี่ยรวมทุกองค์ประกอบ |
4.39 |
ดี |
บทนำ
1.1 ชื่อหน่วยงาน ที่ตั้ง และประวัติความเป็นมาโดยย่อ
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ชื่อส่วนงาน ที่ตั้ง และประวัติความเป็นมาโดยย่อ
1.1.1 ชื่อส่วนงาน
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา
1.1.2 ที่ตั้ง
เลขที่ 103 วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 หมายเลขโทรศัพท์ 0-5327-0975 ถึง 6 โทรสาร 0-5381-4752 เว็บไซต์ www.lanna.mbu.ac.th
1.1.3 ประวัติหน่วยงาน
วิทยาเขตล้านนาเกิดขึ้นจากแนวความคิดและความพยายามของนายอุทัย บุญเย็น ป.ธ.8, พ.ม., ศน.บ., M.A. ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย รุ่นที่ 23 ที่ต้องการสนองคุณสถาบันโดยการขยายเครือข่ายไปยังภูมิภาค นายอุทัย บุญเย็น ได้เสนอแนวความคิดที่จะจัดตั้งวิทยาเขตขึ้นที่วัดล้านนาญาณสังวราราม ต่อพระเดชพระคุณพระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล) เมื่อครั้งยังดำรงสมณศักดิ์เป็น พระเทพกวี (จันทร์ กุสโล) เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่-ลำพูน-แม่ฮ่องสอน (ธ) ระหว่างมีการสัมมนาผู้บริหารการประถมศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ณ วัดล้านนาญาณสังวราราม ตำบลข่วงเปา อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2533
พระเดชพระคุณพระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล) ได้แนะนำให้ไปขอคำปรึกษา จากศาสตราจารย์เกียรติคุณแสง จันทร์งาม ป.ธ. 6, ศน.บ., A.I.E., M.A. ศิษย์เก่า มมร. รุ่นที่ 1 ซึ่งก็ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่ง
ต่อมาพระเดชพระคุณพระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล) ศาสตราจารย์เกียรติคุณแสง จันทร์งาม และนายอุทัย บุญเย็น ได้เข้าพบพระเดชพระคุณพระธรรมดิลก (ขันติ์ ขนฺติโก) เจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวงวรวิหาร รองเจ้าคณะภาค 4-5-6-7 (ธ) เพื่อแจ้งจุดประสงค์ที่จะเปิดวิทยาเขต โดยขอเปลี่ยนสถานที่จากวัดล้านนาญาณสังวราราม มาเป็นวัดเจดีย์หลวงวรวิหารแทน พระเดชพระคุณพระธรรมดิลก (ขันติ์ ขนฺติโก) ยินดีและอนุญาตให้ใช้วัดเจดีย์หลวงวรวิหารเป็นสถานที่ตั้ง โดยมอบหอสมุดแหวน สุจิณฺโณ เป็นสำนักงานวิทยาเขต และมอบอาคารสามัคคีวิทยาทานเป็นอาคารเรียน เมื่อได้สถานที่ตั้งวิทยาเขตแล้ว นายอุทัย บุญเย็น ได้รวบรวมเพื่อนรวมอุดมการณ์ ระยะแรกได้ 4 คน คือ นายกมล บุตรชารี นายบัณฑิต รอดเทียน นายเมินรัตน์ นวะบุศย์ และนางสาววาสนา วงศ์ยิ้มย่อง สถานที่วางแผนทำโครงการขอจัดตั้ง คือ สำนักงานเลขานุการในสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช วัดบวรนิเวศวิหาร ผู้ที่ให้ความสะดวก ติดต่อประสานงานกับผู้ใหญ่ในมหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย และบริการวัสดุอุปกรณ์เกี่ยวกับการดำเนินการทุกเรื่อง คือ พระมหาสุวิทย์ ปิยวิชฺโช ป.ธ. 9, ศน.บ., M.A. ผู้ช่วยเลขานุการในสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ปัจจุบัน คือ ท่านเจ้าคุณพระราชญาณกวี (สุวิทย์ ปิยวิชฺโช) วัดพระราม 9 กรุงเทพมหานคร ต่อมาท่านเจ้าคุณยังเป็นภาระขอทุนสมเด็จพระสังฆราช มาช่วยสร้างอาคารสามัคคีวิทยาทานในวัดเจดีย์หลวงวรวิหารอีกด้วย ขณะรอการอนุมัติจัดตั้งวิทยาเขต คณะผู้ทำงานได้ปรารภถึงโรงเรียนสามัคคีวิทยาทาน ซึ่งเป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาของวัดเจดีย์หลวงวรวิหาร พระธรรมดิลก (ขันติ์ ขนฺติโก) เมื่อครั้งดำรงสมณศักดิ์เป็น พระเทพสารเวที ได้จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 เปิดสอนระดับประถมศึกษาตอนปลาย ถึงมัธยมศึกษาตอนต้น และเลิกกิจการไปเมื่อ พ.ศ. 2527
คณะผู้ทำงานโดยพระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล) และนายอุทัย บุญเย็น ได้ขออนุญาตเปิดโรงเรียนสามัคคีวิทยาทานอีกครั้ง โดยขอเปิดระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อเป็นโรงเรียนสาธิตวิทยาเขตล้านนา ในปีการศึกษา 2534
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ได้มีคำสั่งที่ 13/2534 ตั้งวิทยาเขตล้านนาขึ้นที่วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534
1.2 ปรัชญา ปณิธาน เป้าหมายและวัตถุประสงค์
ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์และพันธกิจ
ปรัชญามหาวิทยาลัย (Philosophy)
“ความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนา”
(Academic Excellence based on Buddhism)
ปณิธาน (Aspiration)
มุ่งเน้นให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผลิตบัณฑิตให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนาพัฒนากระบวนการดำรงชีวิตในสังคมด้วยศีลธรรมชี้นำและแก้ปัญหาสังคมด้วยหลักพุทธธรรมทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
วิสัยทัศน์ (Vision Statements)
1) เป็นสถาบันการศึกษาที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนาในระดับชาติและนานาชาติ
2) เป็นสถาบันการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่ผลิตบัณฑิตตามแนวพระพุทธศาสนาและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถและมีศีลธรรมในการดำรงชีวิตแบบพุทธ
3) เป็นศูนย์กลางแห่งภูมิปัญญาตามแนวพระพุทธศาสนาที่สามารถชี้นำและยุติความขัดแย้งในสังคมโดยใช้หลักพุทธธรรม
4) เป็นสถาบันที่เน้นทำวิจัยพัฒนาตามกรอบแห่งศีลธรรม ส่งเสริมงานวิจัยเชิงลึกด้านพระพุทธศาสนาและนำผลการวิจัยไปพัฒนาสังคมและคณะสงฆ์ ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
พันธกิจ (Mission Statements)
1) ผลิตบัณฑิตทางด้านพระพุทธศาสนา ให้มีคุณสมบัติตามปรัชญาของมหาวิทยาลัยและกระจายโอกาสให้พระภิกษุสามเณร คฤหัสถ์ และผู้สนใจมีโอกาสศึกษามากขึ้น
2) ให้บริการวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนาแก่ชุมชนในท้องถิ่น โดยมุ่งเน้นการเผยแผ่พุทธธรรม การแก้ปัญหาสังคม การนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันให้เกิดสันติสุข ชี้นำสังคมในทางสร้างสรรค์ และช่วยยุติข้อขัดแย้งด้วยหลักวิชาการทางพระพุทธศาสนา
3) วิจัยและพัฒนางานวิชาการเชิงลึกด้านพระพุทธศาสนา เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางด้านวิชาการพระพุทธศาสนาใหม่ๆ ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และเผยแผ่องค์ความรู้ในระบบเครือข่ายการเรียนรู้ที่ทันสมัย
4) รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม เพื่อให้มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งค้นคว้าทำนุบำรุงรักษาภูมิปัญญาไทยและท้องถิ่น รวมทั้งสร้างชุมชนที่เข้มแข็งเพื่อให้มีภูมิคุ้มกันวัฒนธรรมที่ไม่เหมาะสม
เอกลักษณ์มหาวิทยาลัย อัตลักษณ์มหาวิทยาลัยและอัตลักษณ์บัณฑิต
เอกลักษณ์*
บริการวิชาการพระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ
การชี้นำ ป้องกัน หรือ แก้ปัญหาของสังคม ๒ เรื่อง
- ภายในมหาวิทยาลัย จิตสาธารณะ หรือจิตสำนึกทางสังคม
- ภายนอกมหาวิทยาลัย การนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและแนวพระราชดำรัสต่าง ๆ ไปใช้ในการแก้ปัญหาสังคม
อัตลักษณ์*
บัณฑิตมีความรอบรู้ในหลักพระพุทธศาสนาและสามารถเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ
1.3 โครงสร้างองค์กร และโครงสร้างการบริหาร
โครงสร้างองค์กร และโครงสร้างการบริหาร
การจัดรูปแบบการบริหารมหาวิทยาลัย เป็นการจัดตามความในมาตราที่เกี่ยวข้องในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ.2540 และเป็นการจัดตามรูปแบบของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐตามความในมาตรา 48 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. 2540 ที่กำหนดให้รัฐมนตรี (กระทรวงศึกษาธิการ) มีอำนาจและหน้าที่กำกับดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของมหาวิทยาลัย ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ในมาตรา 6 คือ “มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษา วิจัย ส่งเสริม และให้บริการวิชาการทางพระพุทธศาสนา แก่พระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์ รวมทั้งการทะนุบำรุงศิลปวัฒธรรม”
การจัดโครงสร้างและระบบการบริหารมหาวิทยาลัย ในแต่ละหน่วยงานหรือองค์กรมีความสอดคล้องกับพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. 2540 ตามความในมาตรานั้น ๆ โดยอาจจำแนกองค์กรหรือหน่วยงานหลักๆ ได้ดังนี้
(1) สภามหาวิทยาลัย (2) สภาวิชาการ
(3) สำนักงานอธิการบดี (4) สำนักงานวิทยาเขต
(5) บัณฑิตวิทยาลัย (6) คณะ
(7) สถาบัน (8) สำนัก
(9) ศูนย์ (10) วิทยาลัย
1.4 รายชื่อผู้บริหาร กรรมการบริหาร
รายชื่อคณะกรรมการบริหาร มมร วิทยาเขตล้านนา
ที่ |
ชื่อ-สกุล |
ตำแหน่ง |
วุฒิการศึกษา |
ตำแหน่งทางวิชาการ |
1. |
พระครูสุนทรมหาเจติยานุรักษ์, ผศ.ดร. |
รองอธิการบดี |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
2. |
พระมหาปุณณ์สมบัติ ปภากโร |
ผอ.ศูนย์บริการฯ |
ปริญญาโท |
- |
3. |
พระมหาสกุล มหาวีโร, ผศ.ดร. |
ผอ.สำนักงานฯ |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
4. |
พระครูวินัยธรสัญชัย ญาณวีโร, ดร. |
รก.ผอ.วิทยาลัยฯ |
ปริญญาเอก |
- |
5. |
ผศ.ดร.ตระกูล ชำนาญ |
ผู้ช่วยอธิการบดี |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
6. |
ผศ.ดร.โผน นามณี |
กรรมการ |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
7. |
ผศ.ดร.ทรงศักดิ์ พรมดี |
กรรมการ |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
8. |
นายวิราษ ภูมาศรี |
กรรมการ |
ปริญญาโท |
- |
1.5 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน
หลักสูตร สาขาวิชาที่เปิดสอน
1 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน ระดับปริญญาตรี
ที่ |
สาขาวิชาที่เปิดสอน |
ชื่อหลักสูตร |
หมายเหตุ |
1. |
สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา |
ศิลปศาสตรบัณฑิต |
หลักสูตร พ.ศ.2562 |
2. |
สาขาวิชาการปกครอง |
รัฐศาสตรบัณฑิต |
หลักสูตร พ.ศ.2563 |
3. |
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย |
ศึกษาศาสตรบัณฑิต |
หลักสูตร พ.ศ.2562 |
4. |
สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ |
ศึกษาศาสตรบัณฑิต |
หลักสูตร พ.ศ.2562 |
5. |
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ |
ศิลปศาสตรบัณฑิต |
หลักสูตร พ.ศ.2564 |
6. |
สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา |
ศึกษาศาสตรบัณฑิต |
หลักสูตร พ.ศ.2562 |
รวม |
สาขาวิชาที่เปิดสอน 6 |
จำนวนชื่อหลักสูตร 3 |
|
2 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน ระดับปริญญาโท
ที่ |
สาขาวิชาที่เปิดสอน |
ชื่อหลักสูตร |
หมายเหตุ |
1. |
สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
หลักสูตร พ.ศ.2563 |
2 |
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา |
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต |
หลักสูตร พ.ศ.2563 |
รวม |
สาขาวิชาที่เปิดสอน 2 |
จำนวน 2 หลักสูตร |
|
3 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน ระดับปริญญาเอก
ที่ |
สาขาวิชาที่เปิดสอน |
ชื่อหลักสูตร |
หมายเหตุ |
1. |
สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต |
หลักสูตร พ.ศ.2563 |
1.6 จำนวนนักศึกษา
1.6. จำนวนนักศึกษา
1.6.1 ระดับ ปริญญาตรี
ที่ |
สาขาที่เปิดสอน |
จำนวนนักศึกษา |
รวม |
|
ปกติ |
พิเศษ |
|||
1. |
สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา |
19 |
- |
19 |
2. |
สาขาวิชาการปกครอง |
187 |
223 |
410 |
3. |
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย |
266 |
- |
266 |
4. |
สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ |
186 |
- |
186 |
5. |
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ |
101 |
- |
101 |
6. |
สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา |
107 |
- |
107 |
รวม นักศึกษาระดับปริญญาตรี |
866 |
223 |
1,089 |
1.6.2 จำนวนนักศึกษาระดับ ปริญญาโท
ที่ |
สาขาที่เปิดสอน |
จำนวนนักศึกษา |
รวม |
|
ปกติ |
พิเศษ |
|||
1. |
สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา |
- |
24 |
24 |
2. |
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา |
2 |
60 |
62 |
รวม นักศึกษาระดับปริญญาโท |
2 |
84 |
86 |
1.6.3 จำนวนนักศึกษาระดับ ปริญญาเอก
ที่ |
สาขาที่เปิดสอน |
จำนวนนักศึกษา |
รวม |
|
ปกติ |
พิเศษ |
|||
1. |
สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา |
|
15 |
15 |
รวม นักศึกษาระดับปริญญาเอก |
|
|
15 |
1.6.4 รวมจำนวนนักศึกษาทั้งหมด
ระดับการศึกษา |
จำนวนนักศึกษา |
รวม |
||
ปกติ |
พิเศษ |
ศูนย์อื่น |
||
ปริญญาตรี |
866 |
223 |
- |
1,089 |
ระดับปริญญาโท |
- |
86 |
- |
86 |
ปริญญาเอก |
|
15 |
|
15 |
รวมนักศึกษาทั้งหมด |
1,190 |
1.6.5 จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา
ระดับ/สาขาวิชา |
จำนวน |
หมายเหตุ |
|
1. ปริญญาตรี/สาขาวิชา |
|
|
|
1. |
พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา |
13 |
|
2. |
การปกครอง |
85 |
|
3. |
การสอนภาษาไทย |
62 |
|
4. |
การสอนภาษาอังกฤษ |
69 |
|
5. |
การสอนสังคมศึกษา |
- |
ยังไม่มีผู้สำเร็จการศึกษา รับนักศึกษาปีแรก 1/2562 |
6. |
ม.ภาษาอังกฤษ |
35 |
|
รวมจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี |
264 |
|
|
2. ระดับปริญญาโท/สาขาวิชา |
จำนวน |
หมายเหตุ |
|
1 |
พุทธศาสนาและปรัชญา |
6 |
|
2 |
การบริหารการศึกษา |
- |
ยังไม่มีผู้สำเร็จการศึกษา รับนักศึกษาปีแรก 2/2563 |
|
รวมจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท |
6 |
|
3. |
ระดับปริญญาเอก/สาขาวิชา |
จำนวน |
หมายเหตุ |
1 |
พุทธศาสนาและปรัชญา |
- |
ยังไม่มีผู้สำเร็จการศึกษา รับนักศึกษาปีแรก 2/2563 |
รวมจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและโท |
270 |
|
1.7 จำนวนอาจารย์และบุคลากร
1.7 จำนวนอาจารย์และบุคลากร
1.7.1 จำนวนอาจารย์
ปีการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา มีบุคลากรรวมทั้งสิ้น 77 รูป/คน แบ่งบุคลากรตามลักษณะงานออกเป็น 2 กลุ่ม คือ สายวิชาการ 47 รูป/คน และ สายสนับสนุน 30 รูป/คน จำแนกสายวิชาการตามคุณวุฒิการศึกษา และตำแหน่งวิชาการ ได้ดังนี้
ที่ |
ชื่อ-สกุล |
วุฒิการศึกษา |
ตำแหน่งทางวิชาการ |
ลาศึกษาต่อ |
ปฏิบัติงานจริง |
|||||
ตรี |
โท |
เอก |
อ. |
ผศ. |
รศ. |
ศ. |
||||
1 |
พระครูสุนทรมหาเจติยานุรักษ์, ผศ.ดร. |
|
|
P |
|
P |
|
|
|
P |
2 |
พระมหาปุณณ์สมบัติ ปภากโร |
|
P |
|
P |
|
|
|
|
P |
3 |
พระมหาวิเศษ ปญฺญาวชิโร, รศ., ดร. |
|
|
P |
|
|
P |
|
|
P |
4 |
พระมหาสกุล มหาวีโร, ผศ,ดร. |
|
|
P |
|
P |
|
|
|
P |
5 |
พระมหาวีรศักดิ์ สุรเมธี, ผศ.ดร. |
|
|
P |
|
P |
|
|
|
P |
6 |
พระครูวินัยธรสัญชัย ญาณวีโร, ดร. |
|
|
P |
P |
|
|
|
|
P |
7 |
พระมหาวราวยะ วราสโย,ดร. |
|
|
P |
P |
|
|
|
|
P |
8 |
พระมหาเจริญ กตปญฺโญ |
|
P |
|
P |
|
|
|
|
P |
9 |
พระครูสังฆรักษ์วีรวัฒน์ วีรวฑฺฒโน |
|
P |
|
P |
|
|
|
|
P |
10 |
พระครูปริยัติกิตติวิมล, ดร. |
|
|
P |
P |
|
|
|
|
P |
11 |
พระครูปลัดณฐกร ปฏิภาณเมธี |
|
P |
|
P |
|
|
|
|
P |
12 |
พระพิทักษ์ ฐานิสฺสโร, ดร. |
|
|
P |
P |
|
|
|
|
P |
13 |
ผศ.ดร.ตระกูล ชำนาญ |
|
|
P |
|
P |
|
|
|
P |
14 |
ผศ.ดร.โผน นามณี |
|
|
P |
|
P |
|
|
|
P |
15 |
ผศ.ดร.ทรงศักดิ์ พรมดี |
|
|
P |
|
P |
|
|
|
P |
16 |
ดร.ณรงศักดิ์ ลุนสำโรง |
|
|
P |
P |
|
|
|
|
P |
17 |
ดร.สงัด เขียนจันทึก |
|
|
P |
P |
|
|
|
|
P |
18 |
ดร.ชุ่ม พิมพ์คีรี |
|
|
P |
P |
|
|
|
|
P |
19 |
นายธีระศักดิ์ แสนวังทอง |
|
P |
|
P |
|
|
|
|
P |
20 |
นายวิราษ ภูมาศรี |
|
P |
|
P |
|
|
|
|
P |
21 |
นายกิตติคุณ ภูลายยาว |
|
P |
|
P |
|
|
|
|
P |
22 |
นายมงคลชัย สมศรี |
|
P |
|
P |
|
|
|
|
P |
23 |
ผศ.ดร.อุเทน ลาพิงค์ |
|
|
P |
|
P |
|
|
|
P |
24 |
ดร.อรรถพงษ์ ผิวเหลือง |
|
|
P |
P |
|
|
|
|
P |
25 |
ดร.มนตรี วิชัยวงษ์ |
|
|
P |
P |
|
|
|
|
P |
26 |
นางสาวอัญชลี แสงเพชร |
|
P |
|
P |
|
|
|
|
P |
27 |
พระครูวิทิตศาสนาทร, ผศ.ดร. |
|
|
P |
|
P |
|
|
|
P |
28 |
พระครูสมุห์ธนโชติ จิรธมโม, ดร. |
|
|
P |
P |
|
|
|
|
P |
29 |
ศ.ดร.พศิน แตงจวง |
|
|
P |
|
|
|
P |
|
P |
30 |
พระมหาสหัสษชัญญ์ สิริมงฺคโล, ดร. |
|
|
P |
P |
|
|
|
|
P |
31 |
รศ.อัครชัย ชัยแสวง |
|
P |
|
|
|
P |
|
|
P |
32 |
ดร.พิรุณ จันทวาส |
|
|
P |
P |
|
|
|
|
P |
33 |
ดร.ชาลี ภักดี |
|
|
P |
P |
|
|
|
|
P |
34 |
ดร.ฉัตรชัย ศิริกุลพันธ์ |
|
|
P |
P |
|
|
|
|
P |
35 |
ดร.ประดิษฐ์ คำมุงคุณ |
|
|
P |
P |
|
|
|
|
P |
36 |
ดร.จรูญศักดิ์ แพง |
|
|
P |
P |
|
|
|
|
P |
37 |
ดร.สมิตรไธร อภิวัฒนอมรกุล |
|
|
P |
P |
|
|
|
|
P |
38 |
นายกมล วัชรยิ่งยง |
|
P |
|
P |
|
|
|
|
P |
39 |
จ.ส.อ.วรยุทธ สถาปนาศุภกุล |
|
P |
|
P |
|
|
|
|
P |
40 |
นายกมล บุตรชารี |
|
P |
|
P |
|
|
|
|
P |
41 |
นายเขมินทรา ตันธิกุล |
|
P |
|
P |
|
|
|
|
P |
42 |
นางสาวทิตติยา มั่นดี |
|
P |
|
P |
|
|
|
|
P |
43 |
นางสาวพิมภัสสร เด็ดขาด |
|
P |
|
P |
|
|
|
|
P |
44 |
นายสรวิศ พรมลี |
|
P |
|
P |
|
|
|
|
P |
45 |
นางทองสาย ศักดิ์วีระกุล |
|
P |
|
P |
|
|
|
|
P |
46 |
นายนพรัตน์ กันทะพิกุล |
|
P |
|
P |
|
|
|
|
P |
47 |
ผศ.พูลสุข กรรณาริก |
|
P |
|
|
P |
|
|
|
P |
|
รวม |
0 |
20 |
27 |
35 |
9 |
2 |
1 |
0 |
47 |
|
|
ตรี |
โท |
เอก |
อ. |
ผศ. |
รศ. |
ศ. |
0 |
|
วิทยาเขตล้านนา มีบุคลากรสายวิชาการ จำนวน 47 รูป/คน มีคุณวุฒิระดับปริญญาโท 20 รูป/คน คิดเป็นร้อยละ 42.55 มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก 27 รูป/คน คิดเป็นร้อยละ 57.44 บุคลากรสายวิชาการที่มีตำแหน่งทางวิชาการระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์รวมกันทั้งหมดจำนวน 12 รูป/คน คิดเป็นร้อยละ 25.53 แบ่งออกเป็นบุคลากรที่มีตำแหน่งทางวิชาการระดับอาจารย์ จำนวน 35 รูป/คน คิดเป็นร้อยละ 74.46 มีตำแหน่งทางวิชาการระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ 9 รูป/คน คิดเป็นร้อยละ 19.14 ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ จำนวน 2 รูป/คน คิดเป็นร้อยละ 4.25 ตำแหน่งศาสตราจารย์ จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.12
ระดับปริญญาโทที่เป็นตำแหน่งอาจารย์ จำนวน 18 รูป/คน คิดเป็นร้อยละ 38.29 ที่มีตำแหน่งทางวิชาการระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ จำนวน 1 คน 2.12 คิดเป็นร้อยละ 4.25 มีตำแหน่งทางวิชาการระดับรองศาสตราจารย์ จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.12
รายชื่ออาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาโท ที่มีตำแหน่งวิชาการ ระดับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จำนวน 1 คน คือ
ที่ |
ชื่อ-สกุล |
ระดับวุฒิการศึกษา |
ตำแหน่งทางวิชาการ |
จำนวน/คน |
ร้อยละ |
1 |
ผศ.พูนสุข กรรณาริก |
ปริญญาโท |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
1 |
2.12 |
รายชื่ออาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาโท ที่มีตำแหน่งวิชาการ ระดับ รองศาสตราจารย์ จำนวน 1 คน คือ
ที่ |
ชื่อ-สกุล |
ระดับวุฒิการศึกษา |
ตำแหน่งทางวิชาการ |
จำนวน/คน |
ร้อยละ |
1 |
รศ.อัครชัย ชัยแสวง |
ปริญญาโท |
รองศาสตราจารย์ |
1 |
2.12 |
ระดับปริญญาเอก ที่เป็นตำแหน่งอาจารย์ จำนวน 17 รูป/คน คิดเป็นร้อยละ 36.17 มีตำแหน่งทางวิชาการ จำนวน 10 รูป/คน คิดเป็นร้อยละ 21.27 ระดับปริญญาเอกที่มีตำแหน่งทางวิชาการในระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ 8 รูป/คน คิดเป็นร้อยละ 17.02 ในระดับรองศาตราจารย์ จำนวน 1 รูป/คน คิดเป็นร้อยละ 2.12 และในระดับศาสตราจารย์ 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.12
รายชื่ออาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก มีตำแหน่งวิชาการ ระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ จำนวน 7 รูป/คน คือ
ที่ |
ชื่อ-สกุล |
ระดับวุฒิการศึกษา |
ตำแหน่งทางวิชาการ |
จำนวนรูป/คน |
ร้อยละ |
1 |
พระครูสุนทรมหาเจติยานุรักษ์,ผศ.ดร. |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
8 |
17.02 |
2 |
พระมหาวีรศักดิ์ สุรเมธี,ผศ.ดร. |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
||
3 |
พระมหาสกุล มหาวีโร,ผศ.ดร. |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
||
4 |
พระครูวิทิตศาสนาทร,ผศ.ดร. |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
||
5 |
ผศ.ดร.ตระกูล ชำนาญ |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
||
6 |
ผศ.ดร.โผน นามณี |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
||
7 |
ผศ.ดร.ทรงศักดิ์ พรมดี |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
||
8 |
ผศ.ดร.อุเทน ลาพิงค์ |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
รายชื่ออาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ที่มีตำแหน่งวิชาการ ระดับ รองศาสตราจารย์ จำนวน 1 คนคือ
ที่ |
ชื่อ-สกุล |
ระดับวุฒิการศึกษา |
ตำแหน่งทางวิชาการ |
จำนวนคน |
ร้อยละ |
1 |
พระมหาวิเศษ ปญฺญาวชิโร, รศ., ดร. |
ปริญญาเอก |
รองศาสตราจารย์ |
1 |
2.12 |
รายชื่ออาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ที่มีตำแหน่งวิชาการ ระดับ ศาสตราจารย์ จำนวน 1 คน คือ
ที่ |
ชื่อ-สกุล |
ระดับวุฒิการศึกษา |
ตำแหน่งทางวิชาการ |
จำนวน/คน |
ร้อยละ |
1 |
ศ.ดร.พศิน แตงจวง |
ปริญญาเอก |
ศาสตราจารย์ |
1 |
2.12 |
1.7.2 จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน
ที่ |
ประเภท |
วุฒิการศึกษา |
นักวิจัย |
รวม |
|||
ตรี |
โท |
เอก |
อื่นๆ |
||||
1. |
พนักงานของรัฐ |
8 |
11 |
- |
1 |
- |
20 |
2. |
พนักงานมหาวิทยาลัย |
- |
- |
- |
- |
- |
0 |
3. |
ลูกจ้างชั่วคราว |
5 |
2 |
- |
3 |
- |
10 |
รวม |
13 |
13 |
- |
4 |
- |
30 |
1.8 ข้อมูลพื้นฐานโดยย่อเกี่ยวกับงบประมาณ และอาคารสถานที่
1.8 ข้อมูลพื้นฐานโดยย่อเกี่ยวกับงบประมาณ และอาคารสถานที่
1.8.1 งบประมาณ
สรุปรายรับจากแหล่งต่างๆ |
ปีงบประมาณ 2564 |
1. งบประมาณแผ่นดิน |
79,102,700 |
2. เงินรายได้จากค่าบำรุงการศึกษา |
13,959,414 |
3. เงินรายได้จากแหล่งอื่น ๆ |
834,599 |
รวมรายรับทั้งสิ้น |
93,896,713 |
รายจ่ายจริง ปีงบประมาณ พ.ศ.2564
หมวดรายจ่าย |
เงินงบประมาณ |
เงินรายได้ |
รวมทั้งสิ้น |
1. งบบุคลากร |
|
|
|
1.1 เงินเดือนและค่าจ้างประจำ |
|
9,194,191 |
9,194,191 |
1.2 ค่าจ้างชั่วคราว |
|
8,557,740 |
|
2. งบดำเนินงาน |
|
|
|
2.1 ค่าตอบแทนใช้สอยวัสดุ |
1,040,508 |
3,304,129 |
4,344,637 |
2.2 ค่าสาธารณูปโภค |
616,443.59 |
158,562.72 |
775,006.31 |
3. งบลงทุน |
|
|
|
3.1 ค่าครุภัณฑ์ |
365,700 |
413,550 |
779,250 |
3.2 ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง |
4,797,000 |
|
4,797,000 |
4. งบเงินอุดหนุน |
578,917.88 |
418,633 |
997,550.88 |
5. งบรายจ่ายอื่น |
|
|
|
รวมรายจ่ายทั้งสิ้น |
7,398,569.47 |
13,489,065.72 |
20,887,65.19 |
*แผนการใช้เงิน งบประมาณ และเงินรายได้ ประจำปี 2564 (ฝ่ายแผนและงบประมาณ)
1.8.2 อาคารสถานที่และสิ่งปลูกสร้าง
ลำดับ |
รายการ |
หมายเหตุ |
1 |
อาคารสำนักงานวิทยาเขตล้านนา (MBU1) |
1. ชั้น 1 ห้องสำนักงานวิทยาเขตล้านนา การเงิน/พัสดุ/สารบรรณ/ทรัพยากรบุคคล จำนวน 1 ห้อง ห้องเก็บพัสดุ จำนวน 1 ห้อง 2. ชั้น 1 ห้องวิทยาลัยศาสนศาสตร์ล้านนา ธุรการ/ทะเบียนและวัดผล/กยศ./อาคารสถานที่/งานจัดการศึกษา/ จำนวน 1 ห้อง ห้องกิจการนักศึกษา 1 ห้อง 3. ชั้น 1 ห้องศูนย์บริการวิชาการ งานแผน/งานบัณฑิตวิทยาลัย/เผยแผ่ จำนวน 1 ห้อง 4. ชั้น 2 ห้องนักการ จำนวน 1 ห้อง ห้องประกันคุณภาพการศึกษา 1 ห้อง ห้องงานครูพระสอนศีลธรรม 1 ห้อง ห้องพักอาจารย์ 2 ห้อง ห้องประชุม 1 ห้อง ห้องผู้ช่วยอธิการบดี จำนวน 1 ห้อง |
2 |
อาคารฟอร์เยชเปอร์เซ่น (MBU2) |
1. ห้องเรียน จำนวน 8 ห้อง 2. ห้องพยาบาล จำนวน 1 ห้อง 3. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ จำนวน 2 ห้อง |
3 |
อาคารอเนกประสงค์ (MBU3) |
1. ชั้น 1 ห้องปฏิบัติงาน จำนวน 2 ห้อง ห้องสมุด 1 ห้อง 2. ชั้น 2 ห้องประชุม จำนวน 1 ห้อง ห้องสมุด 1 ห้อง 3. ชั้น 2 ห้องปฏิบัติงานอาจารย์ จำนวน 1 ห้อง ห้อง |
4 |
อาคารพระพุทธพจนวราภรณ์ (MBU4) |
1. ห้องเรียน จำนวน 15 ห้อง 2. ห้องปฏิบัติการทางภาษา จำนวน 1 ห้อง 3. ห้องประชุม 1 ห้อง 4. ห้องปฏิบัติงานอาจารย์ จำนวน 4 ห้อง 5. โรงเก็บของ จำนวน 1 ห้อง 6. ห้องเก็บวัสดุอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ จำนวน 1 ห้อง 7. โรงอาหาร จำนวน 1 โรง |
1.9 เอกลักษณ์หรือวัฒนธรรมของสถาบัน
1.9 เอกลักษณ์หรือวัฒนธรรมของสถาบัน
เอกลักษณ์ขอสถาบันคือ บริการวิชาการพระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ วัฒนธรรมสถาบันคือ การชี้นำ ป้องกัน หรือ แก้ปัญหาของสังคม 2 เรื่อง 1. ภายในมหาวิทยาลัย จิตสาธารณะ หรือจิตสำนึกทางสังคม 2. ภายนอกมหาวิทยาลัย การนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและแนวพระราชดำรัสต่าง ๆ ไปใช้ในการแก้ปัญหาสังคม
1.10 ตารางแสดงผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผลการประเมินปีที่ผ่านมา
ที่ | ข้อเสนอแนะกรรมการปีที่แล้ว | ความคิดเห็นของคณะ | ผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะกรรมการ |
---|
สรุปผลการประเมิน
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา
ปีการศึกษา 2564
|
|
|
|
|
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต | ||||
1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม |
|
|
|
|
1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก |
|
|
|
|
1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ |
|
|
|
|
1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ |
|
|
|
|
1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี |
|
|
|
|
1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต |
|
| ||
องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย | ||||
2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ |
|
|
|
|
2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ |
|
|
|
|
2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 การวิจัย |
|
| ||
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ | ||||
3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ |
|
| ||
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม | ||||
4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม |
|
| ||
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ | ||||
5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ |
|
|
|
|
5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร |
|
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ |
|
| ||
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (13 ตัวบ่งชี้) |
|
|
ผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบคุณภาพ
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา
ปีการศึกษา 2564
องค์ประกอบที่ | จำนวนตัวบ่งชี้ | I | P | O | คะแนนเฉลี่ย | ผลการประเมิน 0.00-1.50 ระดับคุณภาพต้องปรับปรุงเร่งด่วน 1.51-2.50 ระดับคุณภาพต้องปรับปรุง 2.51-3.50 ระดับคุณภาพปานกลาง 3.51-4.50 ระดับคุณภาพดี 4.51-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก |
1 | 6 | 3.11 | 5.00 | 3.71 | 3.84 | ดี |
2 | 3 | 5.00 | 4.00 | 5.00 | 4.67 | ดีมาก |
3 | 1 | - | 5.00 | - | 5.00 | ดีมาก |
4 | 1 | - | 5.00 | - | 5.00 | ดีมาก |
5 | 2 | - | 5.00 | - | 5.00 | ดีมาก |
รวม | 13 | 3.58 | 4.86 | 4.36 | 4.39 | ดี |
ผลการประเมิน | ดี | ดีมาก | ดี | ดี | ดี |
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ/วิทยาเขต/วิทยาลัยตามองค์ประกอบคุณภาพ ย้อนหลัง 3 ปี
ปีการศึกษา | องค์ประกอบที่ |
ค่าเฉลี่ยผลการประเมิน องค์ประกอบที่ 1-5 |
||||
---|---|---|---|---|---|---|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | ||
2562 | 3.97 | 3.64 | 5.00 | 5.00 | 4.50 | 4.13 |
2563 | 4.10 | 4.32 | 3.00 | 3.00 | 4.00 | 3.96 |
2564 | 3.84 | 4.67 | 5.00 | 5.00 | 5.00 | 4.39 |
ข้อเสนอแนะ
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต
จุดเด่น
- คณาจารย์มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก(ร้อยละ52) และความเชี่ยวชาญในศาสตร์สาขาของตนเองแสดงถึงศักยภาพของหลักสูตรและวิทยาเขต
- คณาจารย์มีผลงานทางวิชาการในสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้การจัดการเรียนการสอนให้นักศึกษามีคุณภาพ
แนวทางเสริมพัฒนา
วารสารวิชาการ 2 ฉบับในการกำกับการดำเนินงานของวิทยาเขตได้รับรองคุณภาพในฐานข้อมูลศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย CTI 2 จึงควรใช้เป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์และคัดเลือกผลงานที่มีคุณภาพของอาจารย์และนักศึกษาเข้าสู่การตีพิมพ์เผยแพร่
ควรมีการวางเเผนการดำเนินงานของหลักสูตรที่มีค่าคะเเนนไม่สูง เพื่อเป็นการพัฒนาหลักศุตรในวิทยาเขต
ควรมีการสรุปผลการรายงานการจัดกิจกรรมให้นักศึกษา
ควรมีการรายงานสถิติการมีงานทำ เเละการให้ข้อมูลเเก่ศิษย์เก่า
ควรมีการนำผลการประเมินที่มีค่าคะเเนนลดลง มาปรับปรุงพัฒนาผลการดำเนินงาน
ควรมีการรายงานการบูรณาการการประกันคุณภาพการศึกษาตั้งเเต่ระดับหลักสูตร จนมาถึงระดับคณะ
องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย
จุดเด่น
มหาวิทยาลัยส่วนกลางให้ความสำคัญและสนับสนุนงบประมาณการทำวิจัย
แนวทางเสริมพัฒนา
ควรส่งเสริมและสนับสนุนอาจารย์ประจำวิทยาเขตเสนอขอรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากหน่วยงานภายในและภายนอกอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิชาการไปสู่ระดับนานาชาติ
ควรมีการส่งเสริมขวัญและกำลังใจบุคลากรที่มีผลงานโดดเด่นด้านการวิจัยโดยการมอบรางวัล เช่น โล่ห์ หรือ เกียรติบัตร เพื่อเป็นแรงจูงใจในการผลิตผลงานต่อไป
ควรส่งเสริม สนับสนุนให้อาจารย์จัดทำบทความวิจัยและบทความวิชาการที่ยกระดับการเผยแพร่ในการประชุมวิชาการทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ รวมทั้งเผยแพร่บนฐานข้อมูลที่มี Impact factor เพิ่มมากขึ้น
ควรมีการพิจารณาเพิ่มเติมขวัญและกำลังใจให้เเกอาจารย์ที่ทำผลงานทางวิชาการ เช่น ได้รับรางวัลจากองค์กรภายนอก
ควรมีการประชาสัมพันธ์ ผลงานวิจัยของอาจารย์เพื่อสร้างกำลังใจและความเข้มเเข็งของวิทยาเขต
ควรมีการดำเนินการคุ้มครองลิขสิทธิ์ผลงานทางวิชาการของอาจารย์เเละบุคลากรภายในวิทยาเขต
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ
จุดเด่น
วิทยาเขตมีบุคลากรที่มีศักยภาพและมีความน่าเชื่อถือ สามารถให้การบริการวิชาการให้แก่ชุมชนเป้าหมายอย่างมีคุณภาพ
แนวทางเสริมพัฒนา
วิทยาเขตควร กำหนดเป้าหมายและประเด็นการให้บริการวิชาการ ในแผนบริการวิชาการให้ชัดเจน รวมทั้งควรมีแผนการนำผลไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ชุมชนเป้าหมาย และเมื่อดำเนินการในชุมชนเป้าหมาย อย่างต่อเนื่องครบรอบ 3 ปี ควรมีการควรปรับเปลี่ยนประเด็นการพัฒนาใหม่เมื่อ เพื่อให้ชุมชนได้รับประโยชน์จากการเข้าไปพัฒนามากยิ่งขึ้น
วิทยาเขตควรมีการพัฒนาระบบการบริการทางวิชาการ การจัดโครงการบริการวิชาการ ด้วยระบบออนไลน์หรือการนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ให้มากขึ้น
วิทยาเขตควรมีการบูรณาการการบริการวิชาการกับการวิจัยและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม โดยการมีส่วนร่วมกับหลักสูตรให้มากขึ้น
ควรมีการกำหนดจุดมุ่งหมายของการบริการวิชาการวิทยาเขต และสำรวจความต้องการของสังคมชุมชน
การตั้งวัตถุประสงค์ของเเผน ตัวชี้วัดต้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เเละควรมีการวัดเชิงลึกมากกว่าความพึงพอใจ
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
จุดเด่น
วิทยาเขต มีศักยภาพในด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม โดยการบูรณาการกับการเรียนการสอน และการวิจัย
แนวทางเสริมพัฒนา
วิทยาเขตควรสร้างความโดดเด่นด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม จากต้นทุนของวิทยาเขต โดยเฉพาะการบูรณาการกับการวิจัย
วิทยาเขตควรมีการวางแผนร่วมกับหลักสูตร เพื่อบูรณาการงานการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม กับด้านการเรียนการสอนและการวิจัยและการบริการวิชาการให้มากขึ้น
การตั้งวัตถุประสงค์ของเเผน ตัวชี้วัดต้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
การปรับปรุงของเเผน ควรมีการปรับปรุงตามกระบวนการของคำเสนอเเนะหรือปัญหาที่พบเจอในการดำเนินงาน เป็นต้น
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ
จุดเด่น
แนวทางเสริมพัฒนา
ควรทบทวนแผนบริหารและพัฒนาบุคลากร เพื่อการกำกับติดตามผลการดำเนินงานให้ครอบคลุมไปยังการบริหารบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน ให้ครอบคลุม ตั้งแต่การรับ การพัฒนา การธำรงรักษา และการเกษียณอายุ
ควรวิเคราะห์ผลการดำเนินงานการประกันคุณภาพรายองค์ประกอบและตัวชี้วัดทั้งในระดับหลักสูตรและระดับวิทยาเขต เพื่อวางแผนการปรับปรุงคุณภาพการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
วิทยาเขต มีกระบวนการบริหารจัดการเข้มแข็งและมีการสนับสนุนระบบบริหารจากส่วนกลางที่ดี สามารถสะท้อนคุณภาพการจัดการศึกษาได้ดี
ควรมีการบริหารความเสี่ยงจาก covid เพราะเป็นประเด็นหลักในการจัดการเรียนการสอน เเละการรับนักศึกษา
ธรรมาภิบาล ควรมีการยกตัวอย่างให้เข้ากับบทบาทของวิทยาเขต
ควรมีการรายงานผลการดำเนินงาน การจัดการความรู้ในรูปเเบบของคู่มือ สามารถนำไปใช้ได้จริง
ควรมีการนำผลการประเมินเปรียบเทียบ เเนวโน้มที่ดีขึ้น 3 ปีย้อนหลัง
บทสัมภาษณ์
ศิษย์ปัจจุบัน มีความชอบในหลักสูตรที่เรียนเพราะมีการเรียนการสอนที่ดี เเละอาจารย์มีความใกล้ชิดกับนักศึกษา อยากมีการให้ปรับกายภาพทางการศึกษา เช่น โต้ะ เก้าอี้ เพื่อเพิ่มความสะดวก
ศิษย์เก่า มีความภาคภูมิใจในวิทยาลัย เเละหลักสูตรการเรียนการสอนเเละคณาจารย์ ยังคงติดตามติดต่อร่วมประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยให้กับรุ้นน้อง เเละมีการสนับสนันหลักสูตรต่างๆที่มีการเปิดสอนให้นักเรียนที่สนใจ เข้าร่วมสมาคมศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัย อยากให้มีการปรับกสนยภสพของวิทยาเขตมีการปรับปรุงพัฒนาเพิ่มเติม
ผู้ปกครอง มีความภาคภูมิใจในตัวสถาบัน เเละตัวบัณฑิตมีความสามารถในการเรียนการทำงาน ความประพฤติดี มีความกระตือรือร้นในการทำงาน อยากให้ทางมหาวิทยาลัยมีการสนับสนุนทุนการศึกษา เรียนฟรีให้กับนักศึกาา สามเณรที่มีความยากจนเพื่อเพิ่มโอกาสในการศึกษาระดับอุดมศึกษา รวมถึงการจัดโครงการบริการสังคม บริการวิชาการต่างๆ เพื่อเชิญชวนนักเรียนนักศึกษาที่มีความสนใจในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
ผู้ใช้บัณฑิต บัณฑิตมีความสามารถในการทำงาน ทั้งภาระงานหลักเเละช่วยภาระงานอื่นๆตามที่ได้รับมอบหมายอย่างดี อยากให้ทางมหาวิทยาลัยมีการประชาสัมพันธ์ เปิดการเรียนการสอนในหลายหลักสูตรที่มีความหลากหลายเพื่อเป็นทางเลือก เเละช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รุู้จัก
ภาพถ่าย