
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร (ย่อย) ปีการศึกษา 2563
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
บทสรุปผู้บริหาร
ารประเมินตนเองของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัยในพระสังฆราชูปถัมภ์ ประจำปีการศึกษา 2563 สรุปผลการประเมินได้ดังนี้
องค์ประกอบคุณภาพ | เป้าหมาย | คะแนนการประเมินตนเอง | การบรรลุเป้าหมาย |
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน | |||
1.1 การบริหารจัดการ หลักสูตรตามเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรที่ กำหนดโดย สกอ. | ผ่าน | ผ่าน | บรรลุ |
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต | |||
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ | ไม่รับการประเมิน | ||
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี | ไม่รับการประเมิน | ||
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต | 0.00 | ||
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา | |||
3.1 การรับนักศึกษา | 5 | 3 | ไม่บรรลุ |
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา | 5 | 3 | ไม่บรรลุ |
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา | 5 | 3 | ไม่บรรลุ |
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา | 3 | ||
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ | |||
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ | 5 | 3 | ไม่บรรลุ |
4.2 คุณภาพอาจารย์ | 5 | 1.67 | ไม่บรรลุ |
4.3 ผลที่เกิดขึ้นกับ อาจารย์ | 5 | 4 | ไม่บรรลุ |
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ | 2.89 | ||
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน | |||
5.1 สาระของรายวิชาใน หลักสูตร | 5 | 3 | ไม่บรรลุ |
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน | 5 | 4 | ไม่บรรลุ |
5.3 การประเมินผู้เรียน | 5 | 3 | ไม่บรรลุ |
5.4 ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ | 5 | 5 | บรรลุ |
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน | 3.75 | ||
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ | |||
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ | 5 | 3 | ไม่บรรลุ |
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ | 3.00 | ||
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (11 ตัวบ่งชี้) | 3.24 |
บทนำ
1.1 ชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
1) ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
2) ชื่อปริญญา
3) สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
1.2 คณะต้นสังกัดและสถานที่เปิดสอน
1) คณะต้นสังกัด มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย ในพระสังฆราชูปถัมภ์
2) สถานที่เปิดสอน
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย ในพระสังฆราชูปถัมภ์
1.3 ปรัชญาความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
1) ปรัชญาของหลักสูตร
ผลิตบัณฑิตที่มีความรอบรู้ทางด้านภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยสามารถบูรณาการพระพุทธศาสนาเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการและเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีลธรรม คุณธรรมและจริยธรรม
2) ความสำคัญของหลักสูตร
ด้วยปัจจัยสำคัญของกระแสการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์ ภาควิชาภาษาตะวันตก มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย จึงได้ดำเนินการเปิดหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารให้มีความทันสมัย รองรับการเปลี่ยนแปลงของโลกด้านการติดต่อสื่อสาร เศรษฐกิจ สังคม และตลาดแรงงานในปัจจุบันและอนาคตที่นักศึกษาสามารถเลือกเรียนได้ตามความสนใจ ได้แก่ กลุ่มรายวิชาที่สัมพันธ์กับรายวิชาที่เน้นความรู้ทางด้านการติดต่อสื่อสาร เป็นต้น การเรียนการสอนในหลักสูตรมุ่งเน้นการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดแทรกความเป็นคนดี มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณเพื่อให้ได้บุคลากรที่มีคุณภาพ มีความสามารถในการประกอบอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลซึ่งจะเป็นกำลังสำคัญของประเทศต่อไป
3) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
- เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา เช่น ศาสนพิธี ประเพณีและศิลปวัฒนธรรมของไทยทั้งในและต่างประเทศ
- เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถในการนำความรู้ด้านภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารไปใ้ช้ประกอบอาชีพทั้งภาครัฐและเอกชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีศีลธรรม คุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบและสามารถรับใช้สังคมได้
1.4 รหัสหลักสูตร T20182112101569
สรุปผลการประเมิน
ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพระดับหลักสูตร
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย ในพระสังฆราชูปถัมภ์
ปีการศึกษา 2563
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน
เกณฑ์การประเมิน | ผลการดำเนินการ |
---|---|
1. จํานวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่น้อยกว่า 5 คนและเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น |
|
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (วิชาการ) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์และ มีผลงานทางวิชาการ 1 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง |
|
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน และ มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปี ย้อนหลัง ไม่จำกัดจำนวนและประจำได้มากกว่าหนึ่งหลักสูตร |
|
4. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กันหรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน อาจารย์พิเศษมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์ในการสอนไม่น้อยกว่า 6 ปี |
|
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด มีการปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด ต้องไม่เกิน 5 ปี ตามรอบระยะเวลาของหลักสูตร หรืออย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี |
|
สรุปผลการประเมิน | ผ่าน |
ตัวบ่งชี้คุณภาพ | เป้าหมาย | คะแนนประเมินจากคณะกรรมการ | |
---|---|---|---|
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต | |||
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ |
|
||
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี |
|
||
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต |
|
||
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา | |||
3.1 การรับนักศึกษา |
|
|
|
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา |
|
|
|
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา |
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา |
|
||
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ | |||
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ |
|
|
|
4.2 คุณภาพอาจารย์ |
|
|
|
4.3 ผลที่เกิดขึ้นกับ อาจารย์ |
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ |
|
||
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน | |||
5.1 สาระของรายวิชาใน หลักสูตร |
|
|
|
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน |
|
|
|
5.3 การประเมินผู้เรียน |
|
|
|
5.4 ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ |
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน |
|
||
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ | |||
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ |
|
|
|
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ |
|
||
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (11 ตัวบ่งชี้) |
|
ตารางวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาในระดับหลักสูตรปีการศึกษา 2563
องค์ประกอบที่ | คะแนนผ่าน | จำนวนตัวบ่งชี้ | I | P | O | คะแนนเฉลี่ย | ผลการประเมิน 0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย 2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง 3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี 4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ผ่าน | หลักสูตรได้มาตรฐาน | |||||
2 | ![]() |
0 | - | - | - | - | - |
3 | 3 | 3.00 | - | - | 3.00 | ปานกลาง | |
4 | 3 | 2.89 | - | - | 2.89 | ปานกลาง | |
5 | 4 | 3.00 | 4.00 | - | 3.75 | ดี | |
6 | 1 | - | 3.00 | - | 3.00 | ปานกลาง | |
รวม | 11 | 2.95 | 3.75 | - | 3.24 | ดี | |
ผลการประเมิน | ปานกลาง | ดี | - | ดี | ดี |
จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน
-องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
-องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
- ควรมีกระบวนการรับนักศึกษาให้สอดคล้องกับบริบทที่มหาวิทยาลัยกำลังพบ เช่น ปัญหาการผ่านแดนของนักศึกษา ปัญหาการเมืองภายในของประเทศกลุ่มเป้าหมาย
- หลักสูตรควรประชาสัมพันธ์ให้เข้าถึงนักศึกษาไทยให้มากขึ้น
- หลักสูตรควรพิจารณาการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาให้ดูแลนักศึกษาตั้งแต่ชั้นปีที่ 1ถึงชั้นปีที่ 4
- หลักสูตรควรใช้การวัดมาตรฐานทักษะในศตวรรษที่ 21 ให้เป็นรูปธรรม
- หลักสูตรควรออกแบบกระบวนการเตรียมความพร้อมของนักศึกษาให้ครอบคลุมทั้งนักศึกษาในประเทศและต่างประเทศ และสามารถประเมินกระบวนการชี้วัดให้เห็นเป็นรูปธรรม
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
- หลักสูตรควรพัฒนากระบวนการพัฒนาผู้รับผิดชอบหลักสูตรด้านการพัฒนาคุณวุฒิ และการถึงตำแหน่งทางวิชาการ
- หลักสูตรควรมีแผนการบริหารอาจารย์เป็นรายบุคคล เช่น อาจารย์แต่ละท่านมีหน้าที่และความรับผิดชอบในภาระงานที่มีความแตกต่างกัน
- หลักสูตรควรมีแผนพัฒนาอาจารย์เป็นรายบุคคลและสามารถประเมินผลแผนเป็นรายระยะสั้นและระยะยาวให้เห็นการพัฒนาหรือการบรรลุเป้าหมายตามที่แผนระบุไว้
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
จุดเด่น
- หลักสูตรมีการปรับกระบวนการการบูรณาการวิชาการด้านสังคม การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และการวิจัย โดยมีผลการพัฒนาเป็นที่ประจักษ์คือมีนักเรียนโรงเรียนสะแกนราชวิทยาคม ผ่านการสอบนักธรรม และมีนักศึกษาสามารถตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการในการประชุมวิชาการระดับชาติ
โอกาสในการพัฒนา
- หลักสูตรควรพิจารณาการสอนภาษาอังกฤษในทักษะต่างๆที่มีความทันสมัยโดยเพิ่มรายวิชาให้มากขึ้น
- หลักสูตรควรพิจารณาเป้าหมายของการบูรณาการในพื้นที่เดิมให้มีความสอดคล้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย
- หลักสูตรควรพิจารณาแต่งตั้งอาจารย์ภายนอกเป็นกรรมการในการทวนสอบผลสัมฤทธิ์
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
- หลักสูตรควรร่วมมือกับวิทยาเขตและวิทยาลัยในการแก้ปัญหาข้อร้องเรียนด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้โดยเฉพาะปัญหาด้านระบบอินเตอร์เน็ต
- หลักสูตรควรพิจารณาแหล่งเรียนรู้ให้มีความสอดคล้องกับธรรมชาติของหลักสูตร
- หลักสูตรควรให้อาจารย์และนักศึกษามีส่วนร่วมในการประเมินสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์มากขึ้น