Logo

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ/วิทยาเขต/วิทยาลัย ปีการศึกษา 2565

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร


บทสรุปผู้บริหาร

จากการดำเนินงานของวิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาที่อยู่ในกลุ่ม ค.2 (สถาบันเฉพาะทางที่เน้นระดับปริญญาตรี) ได้คะแนนการประเมินตนเอง 3.99 อยู่ที่ระดับ ดี โดยมีรายละเอียดการดำเนินงานทั้ง 5 องค์ประกอบดังนี้

          องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีระบบและกลไกการเปิดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กำหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษาและดำเนินการตามระบบที่กำหนดให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา และเพื่อให้การบริหารงานด้านวิชาการดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งวิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 1 นี้เท่ากับ 4.11 อยู่ในระดับ ดี

          องค์ประกอบที่ 2 งานวิจัย มหาวิทยาลัยมีการจัดตั้งสถาบันวิจัยญาณสังวรเพื่อวางนโยบายและแผนยุทธศาสตร์งานวิจัย โดยจัดสรรงบประมาณของมหาวิทยาลัยเพื่อเป็นทุนวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีการส่งเสริมการทำวิจัยของอาจารย์ และอาจารย์ผู้สอนมีความสนใจเรื่องการทำวิจัย ดังมีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 2 นี้เท่ากับ 3.17 อยู่ในระดับ ปานกลาง

          องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีการจัดโครงการบริการทางวิชาการแก่สังคม แต่โครงการมีการบูรณาการในเรื่องของการวิจัย ดังนั้น เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนและสังคม วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย จึงมีการวางแผนการจัดทำโครงการให้บูรณาการกับการเรียนการสอนในปีการศึกษาต่อไป และผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 3 นี้เท่ากับ 5.00 อยู่ในระดับ ดีมาก

          องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหา มกุฏราชวิทยาลัย มีนโยบายและแนวทางการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมมีโครงการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษาและสรุปการดำเนินงานโครงการด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 4 นี้เท่ากับ 5.00 อยู่ในระดับ ดีมาก

          องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีทิศทางการดำเนินงานและสามารถถ่ายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ และให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการโดยมีสภามหาวิทยาลัยทำหน้าที่ในการกำกับดูแลการทำงานให้มีประสิทธิภาพ และต้องบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ให้มีคุณภาพ เช่น ทรัพยากรบุคล ระบบฐานข้อมูล การบริหารความเสี่ยง การบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารทรัพยากรทั้งหมด ที่เกี่ยวข้อง วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 5 นี้เท่ากับ 4.00 อยู่ในระดับดี

บทนำ

1.1 ชื่อหน่วยงาน ที่ตั้ง และประวัติความเป็นมาโดยย่อ

บทที่ 1 บทนำ

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร

ข้อมูลเบื้องต้นของหน่วยงาน

1.1  ชื่อส่วนงาน ที่ตั้ง และประวัติความเป็นมาโดยย่อชื่อหน่วยงานภาษาไทย :วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธรอักษารย่อ  คือ  วศย.ภาษาอังกฤษ :  Yasothon  Buddhist  Collegeอักษรย่อ  คือ  MBU.YBC.

ที่ตั้ง

174 หมู่ 3  ถนนวารีราชเดช  ตำบลทุ่งแต้  อำเภอเมืองยโสธร  จังหวัดยโสธร

35000

โทรศัพท์  0-4575-6859

โทรสาร   0-4571-4408

E-mail :www.ybc.mbu.ac.th

ประวัติโดยย่อ

         ประวัติความเป็นมาโดยสังเขปของวิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร ซึ่งเป็นวิทยาลัยของรัฐในการกำกับดูแลของกระทรวงศึกษาธิการ  ได้ดำเนินการเปิดการเรียนการสอนทั้งในระดับปริญญาตรีและปริญญาโทพร้อมทั้งหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตในปี  พ.ศ.  2541  มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด  เสนอขออนุมัติจัดตั้งศูนย์ยโสธรต่อสภามหาวิทยาลัยจากมติที่ประชุมสภามหาวิทยาลัย  ครั้งที่  3/2541  อนุมัติจัดตั้ง “ศูนย์ยโสธร”  มีฐานะเป็นห้องเรียนหนึ่งของวิทยาเขตร้อยเอ็ด  โดยมีพระครูศรีวิริยโสภณ  เป็นหัวหน้าศูนย์รูปแรก  (พ.ศ.  2541-2550)ในวันที่ 22 พฤษภาคม 2541 ได้เปิดทำการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี และหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู ณ วัดศรีธรรมาราม (พระอารามหลวง)  ตำบลในเมือง  อำเภอเมืองยโสธร  จังหวัดยโสธร  โดยความอนุเคราะห์ของพระเทพสังวรญาณ  (ขณะดำรงสมณศักดิ์ที่  พระราชธรรมสุธี) เจ้าอาวาสวัดศรีธรรมารามและรองเจ้าคณะภาค 10 (ธ) เป็นปฐมาจารย์และองค์อุปถัมภ์

        ในปี  พ.ศ.  2547  วิทยาเขตร้อยเอ็ด  ได้ดำเนินการให้มีการเรียนการสอนหลักสูตรศาสนศาสตร มหาบัณฑิต  (ปริญญาโท)  สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองและในปี  พ.ศ.  2548  ได้เปิดสาขาวิชาศาสนาและปรัชญา  และสาขาวิชาการจัดการศึกษา  โดยมีศูนย์การศึกษาบัณฑิตวิทยาลัยประจำศูนย์ยโสธรเป็นผู้ดูแล

        ในปี  พ.ศ.  2550  สำนักงานอธิการบดีได้แจ้งคำสั่งมหาวิทยาลัยว่าด้วยการจัดตั้งส่วนงาน  (ฉบับที่  3)  พ.ศ.  2550  โดยอาศัยอำนาจตามความมาตรา  8  และมาตรา  9  วรรคแรก  และมาตรา 19  (2)  และ  (4)  แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย  พ.ศ.  2540  และมติที่ประชุมสภามหาวิทยาลัย  ที่  21/2550  เมื่อวันที่  27  เมษายน  2550  ให้ตราข้อกำหนดไว้ในข้อ  4  ไว้ว่า  “มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย  มีส่วนงานเพิ่มเติม คือ วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร”

        วันที่ 26 ตุลาคม 2550 สำนักงานอธิการบดี ได้แจ้งคำสั่งมหาวิทยาลัย ว่าด้วยการจัดตั้งส่วนงาน  (ฉบับที่  3)  พ.ศ.  2550  ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124  ตอนพิเศ96 ง ลงวันที่ 14 สิงหาคม  2550  และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม 2550 และแต่งตั้งให้พระราชปริยัติวิมล (ขณะดำรงสมณศักดิ์ที่  พระสุทธิสารโสภณ) รองอธิการบดีวิทยาเขตร้อยเอ็ด  เป็นรักการในตำแหน่งผู้อำนวยการวิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร  เป็นรูปแรกปัจจุบัน (พ.ศ.  2566)  วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร ได้เปิดทำการเรียนการสอนหลักสูตร มีรายละเอียดดังนี้

หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน

ลำดับที่

รายชื่อหลักสูตร

สาขาวิชาที่เปิดสอน

1.

ระดับปริญญาตรี 5 ปี (ป.ตรี)

การสอนภาษาไทย

2.

ระดับปริญญาตรี 4 ปี (ป.ตรี)

สาขาวิชาปรัชญาศาสนาและวัฒนธรรม

3.

ระดับปริญญาตรี 4 ปี (ป.ตรี)

การปกครอง

1.2 ปรัชญา ปณิธาน เป้าหมายและวัตถุประสงค์

  1. 2 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์และพันธกิจ

ปรัชญา  (Philosophy)

ความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนา

Academic  Excellence  based   on  Buddhism

ปณิธาน (Aspiration)

“มุ่งมั่นผลิตบัณฑิตและมหาบัณฑิตทางพระพุทธศาสนาให้เป็นผู้มีความรู้คู่คุณธรรมมีความรู้ความสามารถในการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณธรรมสู่สังคมไทย”

 

นโยบาย  (Policy)

วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร มีนโยบายในด้านดำเนินงานให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจ  ดังนี้

  1. ผลิตบัณฑิตและมหาบัณฑิตให้เป็นผู้มีความรู้ความสามารถด้านวิชากรทางพระพุทธศาสนาถึงพร้อมด้วยความประพฤติที่ดีงามเพื่อให้ตรงตามคติพจน์และปรัชญาของวิทยาลัยพร้อมทั้งขยายโอกาสให้พระภิกษุ–สามเณรและประชาชนในท้องถิ่นที่มีความสนใจได้มีโอกาสเข้ารับการศึกษาในระดับอุดมศึกษามากยิ่งขึ้น 2. สร้างเสริมให้บริการด้านวิชาการทางพระพุทธศาสนาแก่ชุมชนท้องถิ่นและสังคมเพื่อไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตอันจะนำมาซึ่งสันติสุขแก่ตนเองและสังคมสามารถนำพาสังคมสร้างความสามัคคีและสร้างความเข้าใจร่วมกันในกรณีเกิดข้อขัดแย้งด้านวิชาการทางพระพุทธศาสนา
  2. ส่งเสริมพัฒนาด้านวิชาการและงานวิจัยเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ทางพระพุทธศาสนาที่สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในท้องถิ่น
  3. ปรับปรุงแก้ไขการบริหารการจัดการของวิทยาลัยให้เป็นระบบตรงตามมาตรฐานสากล
  4. ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ

 

วัตถุประสงค์  (Objectives)

  1. ผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้และความประพฤติ 2. สร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมที่มีความรู้คู่คุณธรรม                                                                                      3. สร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และวิจัย                                                                                  4. สร้างสังคมไทยเป็นสังคมแห่งการสมานฉันท์ให้อภัยซึ่งกันและกันปรองดองกัน                                                                5. สร้างระบบบริหารองค์การให้เป็นองค์การที่มีมาตรฐานให้เป็นที่ยอมรับของสังคมและนำไปสู่ความสู่ความเป็นสากล

วิสัยทัศน์  (Vision  Statements)

“เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาสู่ความเป็นเลิศทางพระพุทธศาสนาที่ได้มาตรฐานระดับท้องถิ่นและระดับชาติ”

ศาสนสุภาษิตประจำวิทยาลัยศาสนศาตร์ยโสธร

ปญฺญานรานํรตนํ

        ปัญญาเป็นรัตนะของนรชน

  สีประจำวิทยาลัยศาสนศาตร์ยโสธร

              สีฟ้า

ต้นไม้ประจำวิทยาลัยศาสนศาตร์ยโสธร

            ต้นพิกุล

คติพจน์ประจำตัวนักศึกษา

        สามัคคี  กตัญญู  รู้หน้าที่  มีวินัย  ใส่ใจบำเพ็ญประโยชน์

ตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย

1.3 โครงสร้างองค์กร และโครงสร้างการบริหาร

1.4 โครงสร้างองค์กร และโครงสร้างการบริหาร

       การจัดรูปแบบการบริหารวิทยาลัยเป็นการจัดตามความในมาตราที่เกี่ยวข้องในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. 2540 และเป็นการจัดตามรูปแบบของวิทยาลัยในกำกับของรัฐตามความในมาตรา  48 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย  พ.ศ.2540 ที่กำหนดให้รัฐมนตรี  (กระทรวงศึกษาธิการ)  มีอำนาจและหน้าที่กำกับดูแลโดยทั่วไปซึ่งมีกิจการของวิทยาลัย ให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ในมาตรา  6  คือ  “มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษา วิจัย ส่งเสริมและให้บริการวิชาการทางพระพุทธศาสนาแก่พระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์รวมทั้งทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม”

      

1.4 รายชื่อผู้บริหาร กรรมการบริหาร

1.5  รายชื่อผู้บริหาร กรรมการบริหาร และกรรมการชุดปัจจุบัน                                                                                           ผู้บริหารวิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร  มีบทบาทและภารกิจทางด้านการบริหารในระดับต่าง ๆ ดังนี้                                              คณะผู้บริหาร

1.  พระมหาจิรายุทธ ปโยโค ,ผศ.    ผู้อำนวยการ                                                                                                                2.  พระครูศิริโสธรคณารักษ์         อาจารย์ประจำ                                                                                                            3.  ผศ.ดร.จำรัส  บุดดาพงษ์        อาจารย์ประจำ                                                                                                            4.  นายสมร อาศัย                   อาจารย์ประจำ                                                                                                                5.  นายวิพจน์  วันคำ                อาจารย์ประจำ                                                                                                            6.  นายนิคม  ปาทะวงศ์            อาจารย์ประจำ                                                                                                                7.  ดร.กันต์  ศรีหล้า                 อาจารย์ประจำ                                                                             

1.5 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน

1.6  หลักสูตรและจำนวนนักศึกษา

ลำดับที่

รายชื่อหลักสูตร

สาขาวิชาที่เปิดสอน

1.

ระดับปริญญาตรี 5 ปี (ป.ตรี)

การสอนภาษาไทย

2.

ระดับปริญญาตรี 4 ปี (ป.ตรี)

สาขาวิชาปรัชญาศาสนาและวัฒนธรรม

3.

ระดับปริญญาตรี 4 ปี (ป.ตรี)

การปกครอง

รวม

จำนวนหลักสูตรหลักสูตร

สาขาวิชาที่เปิดสอนป.ตรี 3 สาขา

1.6 จำนวนนักศึกษา

จำนวนนักศึกษา

ลำดับที่

คณะ....

จำนวนนักศึกษา

รวม

ปริญญาตรี

 

 

บรรพชิต

คฤหัสถ์

 

1

คณะสังคมศาสตร์

 

 

 

 

สาขาวิชาการปกครอง

30

91

121

2

คณะศึกษาศาสตร์

 

 

 

 

สาขาวิชาการสอนภาษาไทย

40

170

210

3

คณะศาสนาและปรัชญา

 

 

 

 

 

90

5

95

รวม

160

266

426

 

ลำดับที่

รายชื่อหลักสูตร

จำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา

1.

ระดับปริญญาตรี 5 ปี (ป.ตรี) การสอนภาษาไทย

25

2.

ระดับปริญญาตรี 4 ปี (ป.ตรี) ปรัชญาศาสนาและวัฒนธรรม

4

3.

ระดับปริญญาตรี 4 ปี (ป.ตรี) การปกครอง

25

รวม

จำนวนที่สำเร็จการศึกษาทั้ง  หลักสูตร

54

 

 

 

1.7 จำนวนอาจารย์และบุคลากร

1.7  อาจารย์และบุคลากร

ลำดับที่

คณะ...

จำนวนอาจารย์จำแนกตามคุณวุฒิและตำแหน่งทางวิชาการ

รวม

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

ผศ.

รศ.

ศ.

ผศ.

รศ.

ศ.

ผศ.

รศ.

ศ.

ผศ.

รศ.

ศ.

1

ศาสนาและปรัชญา

-

-

-

-

4

-

-

-

1

1

-

-

5

1

-

-

2

ศึกษาศาสตร์

-

-

-

-

3

2

-

-

-

-

-

-

4

1

-

-

3

สังคมศาสตร์

-

-

-

-

3

-

-

-

2

1

-

-

5

-

-

-

รวม

 

 

 

 

10

2

-

-

3

1

-

-

15

3

 

 

รวมทั้งหมด

 

10

5

15

 

รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรระดับหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาปรัชญา

ที่

ชื่อ-ฉายา/นามสกุล

ตำแหน่งทางวิชาการ/สาขาวิชา

คุณวุฒิ/สาขาวิชา

สถาบันที่สำเร็จการศึกษา

ปีที่สำเร็จ

1

พระครูศิริโสธรคณารักษ์

อาจารย์

-ศน.ม. (พุทธศาสนาและปรัชญา)                       -ศน.บ. (ปรัชญา)

มหามกุฏราชวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

2548             2545

2

ผศ.ดร.จำรัส  บุดดาพงษ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์/สาขาปรัชญา

-(ร.ด.) รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต                         -ศน.ม.(พุทธศาสนาและปรัชญา)                        -ศน.บ. (ปรัชญา)

มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอิสเทิร์นมหามกุฏราชวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

2559  2545  2539

3

นายวิพจน์  วันคำ

อาจารย์

-ศน.ม.(พุทธศาสนาและปรัชญา)                 -ศน.บ. (ปรัชญา)

มหามกุฏราชวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

2547  2543

4

นายนิคม  ปาทะวงศ์

อาจารย์

-ศน.ม. (พุทธศาสนาและปรัชญา)                   -ศน.บ. (ปรัชญา)

มหามกุฏราชวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

2547   2540

5

นายเอกพงศ์ พัฒนากุล

อาจารย์

ศศ. ม. (ปรัชญา)

ศศ. บ. (ภาษาอังกฤษ)

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2555

2549

 

รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรระดับหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการสอนภาษาไทย

ที่

ชื่อ-ฉายา/นามสกุล

ตำแหน่งทางวิชาการ/สาขาวิชา

คุณวุฒิ/สาขาวิชา

สถาบันที่สำเร็จการศึกษา

ปีที่สำเร็จ

2

นางวิภาษณ์ เทศน์ธรรม

อาจารย์

-กศ.บ.(ภาษาไทย)                                     -ศศ.ม.(ไทยคดีศึกษา)

มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2519

2541

2

พระมหาจิรายุทธปโยโค,ผศ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์/อาจารย์

-ศน.ม.(การจัดการศึกษา)                      -ศน.บ.(การสอนภาษาไทย)

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

2551   2547

3

นายสถิตย์

อาจราย์

-ศษ.ม.(บริหารการศึกษา)                      -ศศ.ม.(ภาษาไทย)                              -กศ.บ.(ภาษาไทย)

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาลัยวิชาการศึกษามหาสารคาม

2548

 2524  2515

4

นายพีรพงษ์ แสนสิ่ง

อาจารย์

-ศษ.ม.(การบริหารการศึกษา)                  -ศน.บ.(ภาษาไทย)

มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรีมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

2554

 2545

5

นายชัยชนะ บรรพโคตร์ 

อาจารย์

ศษ.ม(การสอนภาษาไทย) 

-ศน.บ (การสอนภาษาไทย 

มหาวิทยาลัยรามคำเเหง 

 

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 

2563 

 

2559 

 

 

รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร ระดับหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง

ที่

ชื่อ-ฉายา/นามสกุล

ตำแหน่งทางวิชาการ/สาขาวิชา

คุณวุฒิ/สาขาวิชา

สถาบันที่สำเร็จการศึกษา

ปีที่สำเร็จ

1

นายณัฐพล  จินดารัมย์

อาจารย์

-ศน.ม.(รัฐศาสตร์การปกครอง)                        -ศน.บ.(รัฐศาสตร์การปกครอง)

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย                             มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

2551

2547

2

นายวรเชษฐ์  โทอื้น

อาจารย์

-รป.ม.(รัฐประศาสนศาสตร์)                                    -ร.บ.(รัฐศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศฯ)                                               -ปริญญารัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (การบริหารท้องถิ่น)

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

 

2553

2545

 2557

3

นายชัชพงศ์  เทียมทันวณิช

อาจารย์

-ร.ม.(สหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น)                                                             -ร.บ.(ทฤษฎีและเทคนิคทางรัฐศาสตร์)                     -กษ.บ.(การผลิตสัตว์)                                 ศษ.บ.(การวดผลและประเมินผลการศึกษา)

มหาวิทยาลัยรามคำแหงมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

2554

2544

2554

2560

4

นายพิเชฐ  ศรีหล้า

อาจารย์

-ศน.ม.(รัฐศาสตร์การปกครอง)                         -ศน.บ.(ปรัชญา)                                    -ร.บ.(รัฐศาสตร์)

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยรามคำแหง

2551    2547   2554

5

นางธมกร  ทยาประศาสน์

อาจารย์

-ศศ.ม. (รัฐศาสตร์การปกครอง)                         -กศ.บ.(การประถมศึกษา)

มหาวิทยาลัยรามคำแหงมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2551

2524

 

บุคลากรสายสนับสนุน

ที่

ชื่อ-ฉายา/สกุล

วุฒิการศึกษา

ตำแหน่ง/ภาระงาน

1

นางสาวจรัสพร  ทรงสังขาร

บช.บ.(การบัญชี)                                                ศน.ม.(รัฐศาสตร์การปกครอง)

เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี

2

นางสาวจันทรัสม์  โภคสวัสดิ์

ค.บ.(สังคมศึกษา)                                                 ศน.ม.(รัฐศาสตร์การปกครอง)

เจ้าหน้าที่บริหารทั่วไป

3

นางสาวธัญรัตน์  โตจำเริญ

ศศ.บ.(การบัญชี)

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

4

นางอุไลวัลย์  เผ่าเพ็ง

ค.บ.(ภาษาไทย)                                            ศศ.บ.(เศรษฐศาสตร์สหกรณ์)

เจ้าหน้าที่งานทะเบียนและวัดผล

5

นายสมร  อาศัย

ศน.บ.(รัฐศาสตร์การปกครอง)

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์บุคคล

6

นางสาวจิรัชญา  ทองใบ

ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษธุรกิจ)                                  ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)

เจ้าหน้าที่ประกันคุณภาพการศึกษา

7

นาวสาวนวรัตน์  ผิวอุบล

ร.บ. (รัฐศาสตร์การปกครอง)

เจ้าหน้าที่ห้องสมุด

8

นางสาววิภาพร  แก้วดวงใหญ่

บธ.บ. (การบัญชี)

เจ้าหน้าที่ธุรการ

9

นายอิทธิพล ป้องทอง

ศศ.บ. (สารสนเทศศาสตร์)                                   คอ.ม.(เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์)

เจ้าหน้าที่เทคโนโลยีสารสนเทศ

10

นายสันติ  ขอพึ่งด่านกลาง

ศน.บ. (รัฐศาสตร์การปกครอง)

นักวิชาการศึกษา

11

นายณรงค์กร  ทองขาว

ปวส. (คอมพิวเตอร์)

พนักงานขับรถ

 

1.8 ข้อมูลพื้นฐานโดยย่อเกี่ยวกับงบประมาณ และอาคารสถานที่

1.8 ข้อมูลพื้นฐานโดยย่อเกี่ยวกับงบประมาณและอาคารสถานที่

ลำดับ

ภารกิจ

งบดำเนินการ

รวม

หมายเหตุ

งบประมาณ

เงินรายได้

1

ผลิตบัณฑิต

2,261,450

-

2,261,450

 

2

วิจัย

-

-

-

 

3

บริการวิชาการ

1,000,000

-

1,000,000

 

4

ทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรม

1,000,000

-

1,000,000

 

5

บริหารจัดการ

2,261,450

3,130,088.86

 

 

5,391,538.86

 

รวม

2,261,450

  3,130,088.86

 

5,391,538.86

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1.9 เอกลักษณ์หรือวัฒนธรรมของสถาบัน

1.3 เอกลักษณ์มหาวิทยาลัย อัตลักษณ์มหาวิทยาลัยและอัตลักษณ์บัณฑิตอัตลักษณ์และเอกลักษณ์

อัตลักษณ์  “บัณฑิตมีความรอบรู้ในหลักพระพุทธศาสนาและสามารถเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ”

เอกลักษณ์:  “บริการทางวิชาการพระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ”

1.10 ตารางแสดงผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผลการประเมินปีที่ผ่านมา

ที่ ข้อเสนอแนะกรรมการปีที่แล้ว ความคิดเห็นของคณะ ผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะกรรมการ
สรุปผลการประเมิน
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร
ปีการศึกษา 2565
องค์ประกอบคุณภาพ
เป้าหมาย
คะแนนการประเมินตนเอง
คะแนนการประเมิน
การบรรลุเป้าหมาย
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต
1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม
3.01
3.71
3.71
บรรลุ
1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
5
2.50
2.50
ไม่บรรลุ
1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
5
1.67
1.67
ไม่บรรลุ
1.4 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี
5
5
5
บรรลุ
1.5 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี
5
5
5
บรรลุ
1.6 การส่งเสริมสนับสนุน บัณฑิตปริญญาตรี มีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ด้านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสาร
2
5
5
บรรลุ
1.7 การส่งเสริมสนับสนุน ทักษะทางด้านพระพุทธศาสนาแก่นักศึกษา
2
5
5
บรรลุ
1.8 ร้อยละของผู้ที่สอบผ่านนักธรรมชั้นตรีหรือธรรมศึกษาชั้นตรีระดับอุดมศึกษา
2
5.00
5.00
บรรลุ
1.9 บัณฑิตปริญญาตรีมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์สอบผ่านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด ไม่รับการประเมิน
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต
4.11
4.11
องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย
2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
5
5
4
บรรลุ
2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์
5
5
5
บรรลุ
2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย
5
5
5
บรรลุ
2.4 ผลงานงานวิจัยและ/หรือนวัตกรรมที่พัฒนาปัญญาและคุณธรรม (Knowledge Contribution for Intellectual and Moral Development)
5
5
บรรลุ
2.5 บุคลากรที่มีบทบาทหรือผลงานที่ได้รับการอ้างอิง (Morality Role Model)
0
0
บรรลุ
2.6 ผลงานทางวิชาการที่เกิดจากความร่วมมือกับเครือข่าย (Knowledge Contribution from Intellectual and Moral Cultivation Network)
0
0
บรรลุ
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 การวิจัย
3.33
3.17
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ
3.1 ความเข้มแข็งของเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน (Collaboration Ecosystem for Sustainable Social Development)
2
5
5
บรรลุ
3.2 จำนวนหน่วยงานหรือองค์กรชุมชนเป้าหมาย ที่เป็นเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติอย่างต่อเนื่อง ตามแผนบริการวิชาการ
2
5
5
บรรลุ
3.3 งบประมาณ/ทรัพยากรวิจัยเพื่อการพัฒนาปัญญาและคุณธรรม (Funding for Knowledge Creation in Intellectual and Mortal Development)
2
5
5
บรรลุ
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ
5.00
5.00
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรม และพระพุทธศาสนา
2
5
5
บรรลุ
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
5.00
5.00
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ
5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ
5
5
4
บรรลุ
5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร
5
5
4
บรรลุ
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ
5.00
4.00
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (20 ตัวบ่งชี้)
4.14
3.99

ผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบคุณภาพ
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร
ปีการศึกษา 2565
องค์ประกอบที่ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
0.00-1.50 ระดับคุณภาพต้องปรับปรุงเร่งด่วน
1.51-2.50 ระดับคุณภาพต้องปรับปรุง
2.51-3.50 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.51-4.50 ระดับคุณภาพดี
4.51-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 8 2.09 5.00 4.36 4.11 ดี
2 6 5.00 4.00 2.50 3.17 ปานกลาง
3 3 - 5.00 5.00 5.00 ดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 ดีมาก
5 2 - 4.00 - 4.00 ดี
รวม 20 3.06 4.67 3.59 3.99 ดี
ผลการประเมิน ปานกลาง ดีมาก ดี ดี ดี

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ/วิทยาเขต/วิทยาลัยตามองค์ประกอบคุณภาพ ย้อนหลัง 3 ปี
ปีการศึกษา องค์ประกอบที่ ค่าเฉลี่ยผลการประเมิน
องค์ประกอบที่ 1-5
12345
2562 3.665.005.004.005.004.30
2563 3.505.005.005.005.004.31
2564 3.813.785.005.005.004.17
2565 4.113.175.005.004.003.99
ข้อเสนอแนะ
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

จุดเด่นในภาพรวม

  • วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาเฉพาะทางด้านพุทธศาสนา เปิดสอนหลักสูตรที่มีการประยุกต์กับหลักพุทธธรรมจนได้รับความไว้วางใจเป็นอย่างยิ่งจากผู้ปกครองในท้องถิ่นส่งบุตรหลานทั้งชายและหญิงเข้ามาศึกษา และเมื่อจบการศึกษาแล้วสอบบรรจุเป็นข้าราชการที่มีคุณธรรมตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ทั้งครูและเจ้าหน้าที่องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในระดับที่น่าพอใจ
  • กองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย สร้างตัวชี้วัดที่เหมาะสม ครอบคลุมและสอดรับกับกลุ่มสถาบันการศึกษากลุ่มที่ 4 กลุ่มพัฒนาปัญญาและคุณธรรมด้วยหลักศาสนา สำหรับวัดและประเมินคุณภาพการศึกษาภายในทุกส่วนงานของมหาวิทยาลัย แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นและกำหนดเป็นกรอบแนวทางการทำงานต่อไปในอนาคต
  • มีการบริการวิชาการแก่สังคม และการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมที่หลากหลายตามนโยบายของมหาวิทยาลัย โดยอาศัยความร่วมมือในระดับ บวร คือ บ้าน วัด และหน่วยงานราชการ

 

แนวทางส่งเสริมจุดเด่น

  • การพัฒนาบุคลากรสายวิชาการ ทั้งคุณวุฒิการศึกษาและตำแหน่งทางวิชาการ
  • ตัวชี้วัดที่ผลิตขึ้นมาเพื่อวัดและประเมินส่วนงานภายใน ควรกำหนดเกณฑ์ประเมินที่ชัดเจนและตรงประเด็น ทั้งนี้ให้อยู่บนพื้นฐานที่แต่ละส่วนงานยอมรับได้และสามารถเก็บรวบรวมเป็นฐานข้อมูลสำหรับส่วนงานได้ตามนโยบายของมหาวิทยาลัย เช่น ตัวชี้วัดด้านการวิจัยที่เป็นเชิงปริมาณ อาจกำหนดคะแนนสูงสุดที่จำนวนหรือเปอร์เซ็นต์เท่าไรแล้วลดหลั่นลงมาตามลำดับ กรณีเช่นนี้จะทำให้ส่วนงานที่ผลการดำเนินงานในระดับหนึ่ง แต่ยังไม่ถึงเกณฑ์ที่กำหนดมีคะแนนบ้าง มิฉะนั้นแล้ว ถ้าไม่มีเกณฑ์ตัวนี้รองรับ คะแนนก็จะกลายเป็น 0 ทันที อาจทำให้ผู้ที่รับผิดชอบข้อมูลพื้นฐานในแต่ละด้านต้องกลับมาทบทวนข้อมูลใหม่ได้ จะกลายเป็นการทำงานซ้ำซ้อน

 

 

 

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย
-
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ
-
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
-
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ
-
บทสัมภาษณ์

นักศึกษาปัจจุบัน

การเดินทางมาเรียนเป็นอย่างไร

  • รถจักรยานยนต์

เหตุผลที่เลือกเรียนที่นี่เพราะอะไร

  • บ้านอยู่ใกล้ เดินทางสะดวก ค่าเทอมถูก

สมหวังหรือมีกับความคาดหวังที่คิดไว หรือไม่อย่างไรที่ได้เข้ามาเรียน

  • ดีค่ะ มีคุณภาพ ก็เหมือนกันมหาวิทยาลัยทั่วไป ได้แสดงความสามารถทั่วถึง

อนาคต จบจาก มมร อยากเป็นอะไร

  • คุณครูสอนภาษาไทย

อยากให้ มมร เพื่อเติมอะไร ในอนาคต

  • อยากให้เปิดทางเลือกสาขาวิชามากขึ้น
  • มีการเปิดระดับปริญญาโท

สิ่งที่ประทับใจใน มมร  

  • สามารถให้แสดงความคิดเห็น แสดงออกทั่งถึง
  • ให้ความรู้ กิจกรรมเหมาะสม อาจารย์

ในความรู้สึกมุมมองเรื่องยาเสพติดในสังคมปัจจุบัน มีแนวทางการช่วยเหลือหรือมีแนวคิดอย่างไร

  • บอกบทลงโทษให้รู้ผลเสียการติดยาเสพติดอย่างไร ปฏิเสธเรื่องยาเสพติด

หลักสูตรระยะสั้นที่น่าสนใจเพื่อให้นักศึกษามีรายได้อาจจะมีรายวิชาบางกิจกรรมที่ประชาชนใช้ในปัจจุบัน

  • หลักสูตรระยะสั้นศาสนพิธี ฝึกนักศึกษาการใช้ชีวิตนำนักศึกษาไปช่วยงาน ก็จะมีรายได้ให้กับนักศึกษา เรียนไปด้วยสามารถทำงานไปด้วย

 

ศิษย์เก่า

หลักจากจบจาก มมร ไปแล้วระยะเวลานักศึกษาได้งานทำกี่ปี

  • จบได้งานเลย เป็นครูผู้ช่วย 1 ปี หลังจากนั้นสอบติดราชการครู

องค์ความรู้ที่ได้ศึกษาจาก มมร ไป ได้รับองค์ความมากน้อยเพียงใด

  • ได้รับองค์ความรู้ดีมาก ได้รับผิดชอบในเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ได้รับภาระหน้าที่ในการดูแลนักเรียนในโรงเรียน

โอกาสการแข่งขัน ในฐานะการเรียนจบสาขาวิชาการสอนภาษาไทย อยาให้ข้อคิดอะไรกับแนวทางการพัฒนาสำหรับรุ่นน้อง

  • ด้านวิชาการอยาให้มีปริญญาโท ด้านการสอนภาษาไทย

ฐานะเป็นศิษย์เก่า อะไรคือความแตกต่างระหว่างที่เรียน

  • ทำทุกอย่างตามที่อาจารย์สอน ออกไปทำงานมีหน้าที่และความรับผิดชอบมากยิ่งขึ้น

ค่าใช้จ่ายที่มาเรียน เป็นอย่างไร พึงพอใจหรือไม่อย่างไร

  • พึงพอใจ

มีการเรียนการสอนการเรียนการสอนให้ทุนสำหรับนักศึกษาหรือไม่อย่างไร

  • ได้รับทุนสนับสนุนค่าเทอม และมีการส่งเสริมเพิ่มทุนในการทำกิจกรรม
ภาพถ่าย