Logo

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ/วิทยาเขต/วิทยาลัย ปีการศึกษา 2565

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา


บทสรุปผู้บริหาร

จากการดำเนินงานของวิทยาเขตล้านนา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาที่อยู่ในกลุ่ม ค2 (สถาบันเฉพาะทางที่เน้นระดับปริญญาตรี) ได้คะแนนการประเมินตนเอง คะแนนเฉลี่ย…4.24..อยู่ในระดับ.ดี.. โดยมีรายละเอียดผลการดำเนินงานทั้ง 5 องค์ประกอบ ดังนี้

          องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา มีระบบและกลไกการเปิดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กำหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และดำเนินการตามระบบ ที่กำหนดให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา และเพื่อให้การบริหารงานด้านวิชาการดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา มีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 1 นี้เท่ากับคะแนนเฉลี่ย ...4.19.... อยู่ในระดับ..ดี..

          องค์ประกอบที่ 2 งานวิจัย มหาวิทยาลัยมีการจัดตั้งสถาบันวิจัยญาณสังวรเพื่อวางนโยบายและแผนยุทธศาสตร์งานวิจัย โดยจัดสรรงบประมาณของมหาวิทยาลัยเพื่อเป็นทุนวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ทางมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา มีการส่งเสริมการทำวิจัยของอาจารย์ และอาจารย์ผู้สอนมีความสนใจเรื่องการทำวิจัย ดังมีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 2 นี้เท่ากับ คะแนนเฉลี่ย ...4.17... อยู่ในระดับ..ดี

          องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา มีการจัดโครงการบริการทางวิชาการแก่สังคม แต่โครงการมีการบูรณาการในเรื่องของการวิจัย ดังนั้น เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนและสังคม มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา จึงมีการวางแผนการจัดทำโครงการให้บูรณาการกับการเรียนการสอนในปีการศึกษาต่อไป และผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 3 นี้เท่ากับ คะแนนเฉลี่ย 3.67... อยู่ในระดับ..ดี

          องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม วิทยาเขตล้านนา ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง มีนโยบายและแนวทางการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม มีโครงการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม กับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา และสรุปการดำเนินงานโครงการด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา มีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 4 นี้เท่ากับ คะแนนเฉลี่ย 5.00 อยู่ในระดับดีมาก

          องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา มีทิศทางการดำเนินงานและสามารถถ่ายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ และให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการโดยมีสภามหาวิทยาลัยทำหน้าที่ในการกำกับดูแลการทำงานให้มีประสิทธิภาพ และต้องบริหารจัดการด้านต่างๆ ให้มีคุณภาพ เช่น ทรัพยากรบุคคล ระบบฐานข้อมูล การบริหารความเสี่ยง การบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารทรัพยากรทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา มีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 5 นี้เท่ากับ คะแนนเฉลี่ย 5.00 อยู่ในระดับดีมาก

บทนำ

1.1 ชื่อหน่วยงาน ที่ตั้ง และประวัติความเป็นมาโดยย่อ

สังคมด้วยศีลธรรมชี้นำและแก้ปัญหาสังคมด้วยหลักพุทธธรรมทั้งในระดับชาติและนานาชาติ

วิสัยทัศน์ (Vision Statements)

1) เป็นสถาบันการศึกษาที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนาในระดับชาติและนานาชาติ

2) เป็นสถาบันการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่ผลิตบัณฑิตตามแนวพระพุทธศาสนาและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถและมีศีลธรรมในการดำรงชีวิตแบบพุทธ

3) เป็นศูนย์กลางแห่งภูมิปัญญาตามแนวพระพุทธศาสนาที่สามารถชี้นำและยุติความขัดแย้งในสังคมโดยใช้หลักพุทธธรรม

4) เป็นสถาบันที่เน้นทำวิจัยพัฒนาตามกรอบแห่งศีลธรรม ส่งเสริมงานวิจัยเชิงลึกด้านพระพุทธศาสนาและนำผลการวิจัยไปพัฒนาสังคมและคณะสงฆ์ ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ

พันธกิจ (Mission Statements)

1) ผลิตบัณฑิตทางด้านพระพุทธศาสนา ให้มีคุณสมบัติตามปรัชญาของมหาวิทยาลัยและกระจายโอกาสให้พระภิกษุสามเณร คฤหัสถ์ และผู้สนใจมีโอกาสศึกษามากขึ้น

2) ให้บริการวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนาแก่ชุมชนในท้องถิ่น โดยมุ่งเน้นการเผยแผ่พุทธธรรม การแก้ปัญหาสังคม การนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันให้เกิดสันติสุข ชี้นำสังคมในทางสร้างสรรค์ และช่วยยุติข้อขัดแย้งด้วยหลักวิชาการทางพระพุทธศาสนา

3) วิจัยและพัฒนางานวิชาการเชิงลึกด้านพระพุทธศาสนา เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางด้านวิชาการพระพุทธศาสนาใหม่ๆ ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และเผยแผ่องค์ความรู้ในระบบเครือข่ายการเรียนรู้ที่ทันสมัย

4) รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม เพื่อให้มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งค้นคว้าทำนุบำรุงรักษาภูมิปัญญาไทยและท้องถิ่น รวมทั้งสร้างชุมชนที่เข้มแข็งเพื่อให้มีภูมิคุ้มกันวัฒนธรรมที่ไม่เหมาะสม

 

       เอกลักษณ์มหาวิทยาลัย อัตลักษณ์มหาวิทยาลัยและอัตลักษณ์บัณฑิต                    

เอกลักษณ์* 

บริการวิชาการพระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ

การชี้นำ ป้องกัน หรือ แก้ปัญหาของสังคม 2 เรื่อง

  1. ภายในมหาวิทยาลัย จิตสาธารณะ หรือจิตสำนึกทางสังคม
  2. ภายนอกมหาวิทยาลัย การนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและแนวพระราชดำรัสต่าง ๆ ไปใช้ในการแก้ปัญหาสังคม

อัตลักษณ์*

บัณฑิตมีความรอบรู้ในหลักพระพุทธศาสนาและสามารถเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ

 

หมายเหตุ *เอกลักลักษณ์และอัตลักษณ์ อนุโลมใช้ตาม มมร ส่วนกลาง

 

1.3  โครงสร้างองค์กร และโครงสร้างการบริหาร

         การจัดรูปแบบการบริหารมหาวิทยาลัย เป็นการจัดตามความในมาตราที่เกี่ยวข้องในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ.2540 และเป็นการจัดตามรูปแบบของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐตามความในมาตรา 48 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. 2540 ที่กำหนดให้รัฐมนตรี (กระทรวงศึกษาธิการ) มีอำนาจและหน้าที่กำกับดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของมหาวิทยาลัย ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ในมาตรา 6 คือ “มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษา วิจัย ส่งเสริม และให้บริการวิชาการทางพระพุทธศาสนา แก่พระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์ รวมทั้งการทะนุบำรุงศิลปวัฒธรรม”

การจัดโครงสร้างและระบบการบริหารมหาวิทยาลัย ในแต่ละหน่วยงานหรือองค์กรมีความสอดคล้องกับพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. 2540 ตามความในมาตรานั้น ๆ โดยอาจจำแนกองค์กรหรือหน่วยงานหลักๆ ได้ดังนี้

(1)  สภามหาวิทยาลัย                     (2)   สภาวิชาการ

(3)  สำนักงานอธิการบดี                  (4)   สำนักงานวิทยาเขต

(5)  บัณฑิตวิทยาลัย                       (6)   คณะ

(7)  สถาบัน                                (8)   สำนัก

(9)  ศูนย์                                    (10) วิทยาลัย

1.2 ปรัชญา ปณิธาน เป้าหมายและวัตถุประสงค์

 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์และพันธกิจ

ปรัชญามหาวิทยาลัย (Philosophy)

“ความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนา”

(Academic Excellence based on Buddhism)

ปณิธาน (Aspiration)

มุ่งเน้นให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผลิตบัณฑิตให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนาพัฒนากระบวนการดำรงชีวิตในสังคมด้วยศีลธรรมชี้นำและแก้ปัญหาสังคมด้วยหลักพุทธธรรมทั้งในระดับชาติและนานาชาติ

วิสัยทัศน์ (Vision Statements)

1) เป็นสถาบันการศึกษาที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนาในระดับชาติและนานาชาติ

2) เป็นสถาบันการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่ผลิตบัณฑิตตามแนวพระพุทธศาสนาและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถและมีศีลธรรมในการดำรงชีวิตแบบพุทธ

3) เป็นศูนย์กลางแห่งภูมิปัญญาตามแนวพระพุทธศาสนาที่สามารถชี้นำและยุติความขัดแย้งในสังคมโดยใช้หลักพุทธธรรม

4) เป็นสถาบันที่เน้นทำวิจัยพัฒนาตามกรอบแห่งศีลธรรม ส่งเสริมงานวิจัยเชิงลึกด้านพระพุทธศาสนาและนำผลการวิจัยไปพัฒนาสังคมและคณะสงฆ์ ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ

พันธกิจ (Mission Statements)

1) ผลิตบัณฑิตทางด้านพระพุทธศาสนา ให้มีคุณสมบัติตามปรัชญาของมหาวิทยาลัยและกระจายโอกาสให้พระภิกษุสามเณร คฤหัสถ์ และผู้สนใจมีโอกาสศึกษามากขึ้น

2) ให้บริการวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนาแก่ชุมชนในท้องถิ่น โดยมุ่งเน้นการเผยแผ่พุทธธรรม การแก้ปัญหาสังคม การนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันให้เกิดสันติสุข ชี้นำสังคมในทางสร้างสรรค์ และช่วยยุติข้อขัดแย้งด้วยหลักวิชาการทางพระพุทธศาสนา

3) วิจัยและพัฒนางานวิชาการเชิงลึกด้านพระพุทธศาสนา เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางด้านวิชาการพระพุทธศาสนาใหม่ๆ ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และเผยแผ่องค์ความรู้ในระบบเครือข่ายการเรียนรู้ที่ทันสมัย

4) รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม เพื่อให้มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งค้นคว้าทำนุบำรุงรักษาภูมิปัญญาไทยและท้องถิ่น รวมทั้งสร้างชุมชนที่เข้มแข็งเพื่อให้มีภูมิคุ้มกันวัฒนธรรมที่ไม่เหมาะสม

        เอกลักษณ์มหาวิทยาลัย อัตลักษณ์มหาวิทยาลัยและอัตลักษณ์บัณฑิต                    

เอกลักษณ์* 

บริการวิชาการพระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ

การชี้นำ ป้องกัน หรือ แก้ปัญหาของสังคม 2 เรื่อง

  1. ภายในมหาวิทยาลัย จิตสาธารณะ หรือจิตสำนึกทางสังคม
  2. ภายนอกมหาวิทยาลัย การนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและแนวพระราชดำรัสต่าง ๆ ไปใช้ในการแก้ปัญหาสังคม

อัตลักษณ์*

บัณฑิตมีความรอบรู้ในหลักพระพุทธศาสนาและสามารถเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ

วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ในมาตรา 6 คือ “มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษา วิจัย ส่งเสริม และให้บริการวิชาการทางพระพุทธศาสนา แก่พระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์ รวมทั้งการทะนุบำรุงศิลปวัฒธรรม”

1.3 โครงสร้างองค์กร และโครงสร้างการบริหาร

โครงสร้างองค์กร และโครงสร้างการบริหาร

         การจัดรูปแบบการบริหารมหาวิทยาลัย เป็นการจัดตามความในมาตราที่เกี่ยวข้องในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ.2540 และเป็นการจัดตามรูปแบบของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐตามความในมาตรา 48 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. 2540 ที่กำหนดให้รัฐมนตรี (กระทรวงศึกษาธิการ) มีอำนาจและหน้าที่กำกับดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของมหาวิทยาลัย ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ในมาตรา 6 คือ “มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษา วิจัย ส่งเสริม และให้บริการวิชาการทางพระพุทธศาสนา แก่พระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์ รวมทั้งการทะนุบำรุงศิลปวัฒธรรม”

การจัดโครงสร้างและระบบการบริหารมหาวิทยาลัย ในแต่ละหน่วยงานหรือองค์กรมีความสอดคล้องกับพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. 2540 ตามความในมาตรานั้น ๆ โดยอาจจำแนกองค์กรหรือหน่วยงานหลักๆ ได้ดังนี้

(1)  สภามหาวิทยาลัย                     (2)   สภาวิชาการ

(3)  สำนักงานอธิการบดี                  (4)   สำนักงานวิทยาเขต

(5)  บัณฑิตวิทยาลัย                       (6)   คณะ

(7)  สถาบัน                                (8)   สำนัก

(9)  ศูนย์                                        (10) วิทยาลัย

1.4 รายชื่อผู้บริหาร กรรมการบริหาร

รายชื่อคณะกรรมการบริหาร มมร วิทยาเขตล้านนา

ที่

ชื่อ-สกุล

ตำแหน่ง

วุฒิการศึกษา

ตำแหน่งทางวิชาการ

1.       

พระครูสุนทรมหาเจติยานุรักษ์, ผศ.ดร.

รองอธิการบดี

ปริญญาเอก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

2.       

พระมหาปุณณ์สมบัติ ปภากโร

ผอ.ศูนย์บริการฯ

ปริญญาโท

-

3.       

พระมหาสกุล มหาวีโร, ผศ.ดร.

ผอ.สำนักงานฯ

ปริญญาเอก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

4.       

พระครูวินัยธรสัญชัย ญาณวีโร, ผศ.ดร.

รก.ผอ.วิทยาลัยฯ

ปริญญาเอก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

5.       

ผศ.ดร.ตระกูล ชำนาญ

ผู้ช่วยอธิการบดี

ปริญญาเอก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

6.       

ผศ.ดร.อุเทน ลาพิงค์

กรรมการ

ปริญญาเอก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

7.       

นายกิตติคุณ ภูลายยาว

กรรมการ

ปริญญาโท

-

8.       

นายวิราษ  ภูมาศรี

กรรมการ

ปริญญาโท

-

1.5 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน

หลักสูตร สาขาวิชาที่เปิดสอน

1. หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน ระดับปริญญาตรี

ที่

สาขาวิชาที่เปิดสอน

ชื่อหลักสูตร

หมายเหตุ

1.

สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา

ศิลปศาสตรบัณฑิต

หลักสูตร พ.ศ.2562

2.

สาขาวิชาการปกครอง

รัฐศาสตรบัณฑิต

หลักสูตร พ.ศ.2563

3.

สาขาวิชาการสอนภาษาไทย

ศึกษาศาสตรบัณฑิต

หลักสูตร พ.ศ.2562

4.

สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ

ศึกษาศาสตรบัณฑิต

หลักสูตร พ.ศ.2562

5.

สาขาวิชาภาษาอังกฤษ

ศิลปศาสตรบัณฑิต

หลักสูตร พ.ศ.2564

6.

สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา

ศึกษาศาสตรบัณฑิต

หลักสูตร พ.ศ.2562

รวม

สาขาวิชาที่เปิดสอน 6

จำนวนชื่อหลักสูตร 3

 

 

2. หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน ระดับปริญญาโท

ที่

สาขาวิชาที่เปิดสอน

ชื่อหลักสูตร

หมายเหตุ

1.

สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

หลักสูตร พ.ศ.2563

2

สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต

หลักสูตร พ.ศ.2563

รวม

สาขาวิชาที่เปิดสอน 2

จำนวน 2 หลักสูตร

 

 

 3. หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน ระดับปริญญาเอก

ที่

สาขาวิชาที่เปิดสอน

ชื่อหลักสูตร

หมายเหตุ

1.

สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

หลักสูตร พ.ศ.2563

 

1.6 จำนวนนักศึกษา

จำนวนนักศึกษา

1. ระดับ ปริญญาตรี

ที่

สาขาที่เปิดสอน

จำนวนนักศึกษา

รวม

ปกติ

พิเศษ

1.

สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา

20

-

20

2.

สาขาวิชาการปกครอง

188

230

418

3.

สาขาวิชาการสอนภาษาไทย

263

-

263

4.

สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ

184

-

184

5.

สาขาวิชาภาษาอังกฤษ

102

-

102

6.

สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา

107

-

107

รวม  นักศึกษาระดับปริญญาตรี

864

230

1,094

 2. จำนวนนักศึกษาระดับ ปริญญาโท

ที่

สาขาที่เปิดสอน

จำนวนนักศึกษา

รวม

ปกติ

พิเศษ

1.

สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา

-

30

30

2.

สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

-

61

61

รวม  นักศึกษาระดับปริญญาโท

-

91

91

 

 3. จำนวนนักศึกษาระดับ ปริญญาเอก

ที่

สาขาที่เปิดสอน

จำนวนนักศึกษา

รวม

ปกติ

พิเศษ

1.

สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา

 

15

15

รวม  นักศึกษาระดับปริญญาเอก

 

 

15

 

 4. รวมจำนวนนักศึกษาทั้งหมด

ระดับการศึกษา

จำนวนนักศึกษา

รวม

ปกติ

พิเศษ

ศูนย์อื่น

ปริญญาตรี

864

230

-

1,094

ระดับปริญญาโท

-

91

-

91

ปริญญาเอก

 

15

 

15

รวมนักศึกษาทั้งหมด

1,200

 

5. จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา

ระดับ/สาขาวิชา

จำนวน

หมายเหตุ

1. ปริญญาตรี/สาขาวิชา

 

 

1.

พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา

6

 

2.

การปกครอง

78

 

3.

การสอนภาษาไทย

115

 

4.

การสอนภาษาอังกฤษ

89

 

5.

การสอนสังคมศึกษา

15

 

6.

ม.ภาษาอังกฤษ

29

 

รวมจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี

332

 

2. ระดับปริญญาโท/สาขาวิชา

จำนวน

หมายเหตุ

1

พุทธศาสนาและปรัชญา

13

 

2

การบริหารการศึกษา

17

 

 

รวมจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท

30

 

3.

ระดับปริญญาเอก/สาขาวิชา

จำนวน

หมายเหตุ

1

พุทธศาสนาและปรัชญา

-

ยังไม่มีผู้สำเร็จการศึกษา

รวมจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและโท

362

 

 

1.7 จำนวนอาจารย์และบุคลากร

รายชื่อบุคลากรสายวิชาการ

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย  วิทยาเขตล้านนา 2565

 

 ที่

ชื่อ/ฉายา/นามสกุล

ตำแหน่ง/หน้าที่

พระครูสุนทรมหาเจติยานุรักษ์, ผศ.ดร.

รองอธิการบดีวิทยาเขตล้านนา

พระมหาสกุล          

มหาวีโร, ผศ.ดร.

ผอ.สำนักงานวิทยาเขตล้านนา

พระมหาปุณณ์สมบัติ

ปภากโร

ผอ.ศูนย์บริการวิชาการล้านนา

พระครูวินัยธรสัญชัย             

าณวีโร, ผศ.ดร.

ผอ.วิทยาลัยศาสนศาสตร์

พระมหาวีรศักดิ์       

สุรเมธี, ผศ.ดร.

อาจารย์ประจำ

พระมหาวิเศษ   

ปฺาวชิโร,รศ.ดร.

อาจารย์ประจำ

พระมหาวราสะยะ

วารสโย, ดร.

อาจารย์ประจำ

พระครูสังฆรักษ์วีรวัฒน์             

วีรวฑฺฒโน

อาจารย์ประจำ

พระมหาเจริญ

กตปญฺโญ

อาจารย์ประจำ/รก.หัวหน้าฝ่ายจัดการศึกษา

๑๐

พระครูปลัดณฐกร

ปฏิภาณเมธี

อาจารย์ประจำ

๑๑

พระพิทักษ์

ฐานิสฺสโร, ดร.

อาจารย์ประจำ

๑๒

ผศ.ดร.ตระกูล               

ชำนาญ

ผู้ช่วยอธิการบดีวิทยาเขตล้านนา

๑๓

ผศ.ดร.โผน                 

นามณี

อาจารย์ประจำ

๑๔

ผศ.ดร.ทรงศักดิ์           

พรมดี

อาจารย์ประจำ

๑๕

นายวิราษ

ภูมาศรี

อาจารย์ประจำ

๑๖

ดร.ชุ่ม

พิมพ์คีรี

อาจารย์ประจำ

๑๗

นายธีรศักดิ์               

แสนวังทอง

อาจารย์ประจำ

๑๘

ดร.ณรงศักดิ์           

ลุนสำโรง

อาจารย์ประจำ

๑๙

ดร.สงัด                

เชียนจันทึก

อาจารย์ประจำ

๒๐

ผศ.ดร.อุเทน

ลาพิงค์

อาจารย์ประจำ

๒๑

นายกิตติคุณ         

ภูลายยาว

อาจารย์ประจำ

๒๒

นายมงคลชัย

สมศรี

อาจารย์ประจำ

๒๓

ดร.มนตรี

วิชัยวงษ์

อาจารย์ประจำ

๒๔

นางสาวอัญชลี

แสงเพชร

อาจารย์ประจำ

๒๕

พระครูสมุห์ธนโชติ

จิรธมฺโม,ดร.

อาจารย์

๒๖

พระครูปริยัติกิตติวิมล, ดร.

 

อาจารย์

๒๗

พระครูวิทิตศาสนาทร, ผศ.ดร.

 

อาจารย์

๒๘

พระมหาสหัสษชัญญ์

สิริมงฺคโล,ดร.

อาจารย์

๒๙

พระมหามนตรี

อธิกาโร

อาจารย์

๓๐

จ.ส.อ.วรยุทธ        

สถาปนาศุภกุล

อาจารย์

๓๑

รศ.อัครชัย          

ชัยแสวง

อาจารย์

๓๒

ดร.จรูญศักดิ์      

แพง

อาจารย์

๓๓

ศ.ดร.พศิน 

แตงจวง

อาจารย์

๓๔

ดร.ชาลี

ภักดี

อาจารย์

๓๕

ดร.ฉัตรชัย 

ศิริกุลพันธ์

อาจารย์

๓๖

ดร.พิรุณ

จันทวาส

อาจารย์

๓๗

ดร.ประดิษฐ์

คำมุงคุณ

อาจารย์

๓๘

นายกมล

บุตรชารี

อาจารย์

๓๙

ดร.สมิตไธร

อภิวัฒนอมรกุล

อาจารย์

๔๐

นายสรวิศ

พรมลี

อาจารย์

๔๑

นายเขมินทรา

ตันธิกุล

อาจารย์

๔๒

นางสาวพิมภัสสร

เด็ดขาด

อาจารย์

๔๓

นางทองสาย

ศักดิ์วีระกุล

อาจารย์

๔๔

นายนพรัตน์

กันทะพิกุล

อาจารย์

๔๕

ผศ.พูลสุข

กรรณาริก

อาจารย์

๔๖

นางสาววราภรณ์

ชนะจันทร์ตา

อาจารย์

 

รายชื่อเจ้าหน้าที่

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย  วิทยาเขตล้านนา

 

 ที่

ชื่อ/ฉายา/นามสกุล

ตำแหน่ง/หน้าที่

พระใบฎีกา นพ   จนฺทปนฺโน, ดร.    

เจ้าหน้าที่บริหารทั่วไป

นางสุมาลี               

เกียรติปรีชา

เจ้าหน้าที่บริหารทั่วไป

นางอรวรรณ์            

สุหอม

บรรณารักษ์

นางเบญจวรรณ        

ชัยยะ

รก.หน.ฝ่ายบริหารทั่วไป/เจ้าหน้าที่สารบรรณ

นางสาวศิขิรินทร์           

ไชยนา

รก.หน.ฝ่ายบริหารทั่วไป/เจ้าหน้าที่บริหารทั่วไป

นายบวร                 

แก้วราช

นักวิชาการพัสดุ

นางอารีย์                 

พานทอง

รก.หน.ฝ่ายบริหารทั่วไป/นักวิชาการการเงินและบัญชี 

นางเอมอร             

กันสุวรรณ

เจ้าหน้าที่ทะเบียนและวัดผล

นายเอนก               

บรรเจิดกิจกุล

นักวิชาการศึกษา

๑๐

นางสาวนารีรัตน์           

เครือง้าว

เจ้าหน้าที่บริหารทั่วไป

๑๑

นางกรวรรณ            

อินต๊ะชัย

นักวิชาการการเงินและบัญชี (งานพัสดุ)

๑๒

นายณัฎฐวัฒน์                 

คีรีชัยพฤกษา

เจ้าหน้าที่ห้องสมุด

๑๓

นางเดือนเพ็ญ          

จันทร์สะอาด

นักวิชาการการเงินและบัญชี 

๑๔

นายวิชัย                 

ไชยสมภาร

เจ้าหน้าที่บริหารทั่วไป(งานกิจการนักศึกษา)

๑๕

นายณรงค์เดช          

ชัยลังการณ์

พนักงานขับรถ

๑๖

นายอุทัย                 

ขุมเหล็ก

เจ้าหน้าที่ประกันคุณภาพการศึกษา

๑๗

นางวีณา                 

สุริโย

นักวิชาการศึกษา/เจ้าหน้าที่นโยบายและแผน

๑๘

นางสาวธัญญรัตน์          

โปธา

เจ้าหน้าที่บริหารทั่วไป

๑๙

นายบุญนำ           

สุนามถาวร

นักทรัพยากรบุคคล

๒๐

นางสาวนุชรี

วงค์ชมภู

เจ้าหน้าที่ทะเบียนและวัดผล

๒๑

นายวรพัทธ์              

เกียรติรัมย์

เจ้าหน้าที่บริหารทั่วไป(งานสารบรรณ)

๒๒

นางสาวรัตนาภรณ์          

ประพันธ์รัตน์

เจ้าหน้าที่กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.)

๒๓

นางสาวกาญจนา        

ซาวปิง

เจ้าหน้าที่บริหารทั่วไป(งานพระสอนศีลธรรมฯ)

๒๔

นางสาวสุริษา            

วุฒิอิ่น

เจ้าหน้าที่ห้องสมุด

๒๕

นางสาววาสินี

อินเป็ง

นักวิชาการพัสดุ(ผู้ช่วย)

๒๖

นายชัชพงศ์

กิติกุศล

นักวิชาการเงินและบัญชี(ผู้ช่วย)

๒๗

นายจิรทัศน์

เนธิบุตร

นักวิชาการศึกษา (งานโสตทัศนูปกรณ์)

๒๘

นายประพันธ์            

ยะคำป้อ

พนักงานขับรถ

๒๙

นายอนันตทรัพย์        

ถามูล

นักการภารโรง

๓๐

นางสาวบัวทิพย์

ขัตวิชัย

นักการภารโรง

๓๑

นางสาวอารียา

ยิ่งเจริญ

นักการภารโรง

๓๒

นางสาวจีรพร

กลิ่นจันอัด

นายช่างโยธา

 

1.8 ข้อมูลพื้นฐานโดยย่อเกี่ยวกับงบประมาณ และอาคารสถานที่

 

ข้อมูลพื้นฐานโดยย่อเกี่ยวกับงบประมาณ และอาคารสถานที่

     1. งบประมาณ

สรุปรายรับจากแหล่งต่างๆ

ปีงบประมาณ 2565

1. งบประมาณแผ่นดิน

7,076415

2. เงินรายได้จากค่าบำรุงการศึกษา

15,676,522.71

3. เงินรายได้จากแหล่งอื่น ๆ

5054,87.75

รวมรายรับทั้งสิ้น

23,258,425.46

รายจ่ายจริง ปีงบประมาณ พ.ศ.2565

หมวดรายจ่าย

เงินงบประมาณ

เงินรายได้

รวมทั้งสิ้น

1. งบบุคลากร

 

 

 

     1.1 เงินเดือนและค่าจ้างประจำ

 

9,317,408.46

9,317,408.46

     1.2  ค่าจ้างชั่วคราว

 

 

 

2. งบดำเนินงาน

 

 

 

     2.1  ค่าตอบแทนใช้สอยวัสดุ

2,587,116.36

1,547,778.22

4,134,894.58

     2.2  ค่าสาธารณูปโภค

910,156.77

74,383.56

984,540.33

3. งบลงทุน

 

 

 

     3.1 ค่าครุภัณฑ์     

1,210,090

 

1,210,090

     3.2 ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง     

 

 

 

4. งบเงินอุดหนุน

1,718,011.60

255,950

1,973,961.60

5. งบรายจ่ายอื่น

 

 

 

รวมรายจ่ายทั้งสิ้น

6,425,374.73

11,195,520.24

17,620,894.97

      *แผนการใช้เงิน งบประมาณ และเงินรายได้ ประจำปี 2565 (ฝ่ายแผนและงบประมาณ)

2. อาคารสถานที่และสิ่งปลูกสร้าง

ลำดับ

รายการ

หมายเหตุ

1

อาคารสำนักงานวิทยาเขตล้านนา (MBU1)

1. ชั้น 1 ห้องสำนักงานวิทยาเขตล้านนา การเงิน/พัสดุ/สารบรรณ/ทรัพยากรบุคคล จำนวน 1 ห้อง ห้องเก็บพัสดุ จำนวน 1 ห้อง

2. ชั้น 1 ห้องวิทยาลัยศาสนศาสตร์ล้านนา ธุรการ/ทะเบียนและวัดผล/กยศ./อาคารสถานที่/งานจัดการศึกษา/ จำนวน 1 ห้อง ห้องกิจการนักศึกษา 1 ห้อง

3. ชั้น 1 ห้องศูนย์บริการวิชาการ งานแผน/งานบัณฑิตวิทยาลัย/เผยแผ่ จำนวน 1 ห้อง

4. ชั้น 2 ห้องนักการ จำนวน 1 ห้อง ห้องประกันคุณภาพการศึกษา 1 ห้อง ห้องงานครูพระสอนศีลธรรม 1 ห้อง ห้องพักอาจารย์ 2 ห้อง ห้องประชุม 1 ห้อง ห้องผู้ช่วยอธิการบดี จำนวน 1 ห้อง

2

อาคารฟอร์เยชเปอร์เซ่น (MBU2)

1. ห้องเรียน จำนวน 8 ห้อง

2. ห้องพยาบาล จำนวน 1 ห้อง

3. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ จำนวน 2 ห้อง

3

อาคารอเนกประสงค์

(MBU3)

1. ชั้น 1 ห้องปฏิบัติงาน จำนวน 2 ห้อง ห้องสมุด 1 ห้อง

2. ชั้น 2 ห้องประชุม จำนวน 1 ห้อง ห้องสมุด 1 ห้อง

3. ชั้น 2 ห้องปฏิบัติงานอาจารย์ จำนวน 1 ห้อง ห้อง

4

อาคารพระพุทธ พจนวราภรณ์ (MBU4)

1. ห้องเรียน จำนวน 15 ห้อง

2. ห้องปฏิบัติการทางภาษา จำนวน 1 ห้อง

3. ห้องประชุม 1 ห้อง

4. ห้องปฏิบัติงานอาจารย์ จำนวน 4 ห้อง

5. โรงเก็บของ จำนวน 1 ห้อง

6. ห้องเก็บวัสดุอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ จำนวน 1 ห้อง

7. โรงอาหาร จำนวน 1 โรง

1.9 เอกลักษณ์หรือวัฒนธรรมของสถาบัน

เอกลักษณ์มหาวิทยาลัย อัตลักษณ์มหาวิทยาลัยและอัตลักษณ์บัณฑิต                           

เอกลักษณ์

บริการวิชาการพระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ

การชี้นำ ป้องกัน หรือ แก้ปัญหาของสังคม 2 เรื่อง

  1. ภายในมหาวิทยาลัย จิตสาธารณะ หรือจิตสำนึกทางสังคม
  2. ภายนอกมหาวิทยาลัย การนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและแนวพระราชดำรัสต่าง ๆ ไปใช้ในการแก้ปัญหาสังคม

อัตลักษณ์

บัณฑิตมีความรอบรู้ในหลักพระพุทธศาสนาและสามารถเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติหรือนานาชาติ

1.10 ตารางแสดงผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผลการประเมินปีที่ผ่านมา

ที่ ข้อเสนอแนะกรรมการปีที่แล้ว ความคิดเห็นของคณะ ผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะกรรมการ

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

วารสารวิชาการ 2 ฉบับในการกำกับการดำเนินงานของวิทยาเขตได้รับรองคุณภาพในฐานข้อมูลศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย CTI 2 จึงควรใช้เป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์และคัดเลือกผลงานที่มีคุณภาพของอาจารย์และนักศึกษาเข้าสู่การตีพิมพ์เผยแพร่

มอบคณะกรรมการจัดทำวารสานล้านนาวิชาการและวารสารปัญญากำกับติดตามประชาสัมพันธ์ดำเนินงานการตีพิมพ์เผยแผ่ผลงานวิชาการต่างๆทั้งของอาจารย์และนักศึกษา

ในการทำวารสารมีคณะกรรมการจัดทำและคณะบรรณาธิการคอยกำกับดูแลในการดำเนินงานต่างๆ และได้ส่งเสริมสนับสนุนผลงานอาจารย์และนักศึกษาในการนำผลงานมาเผยแผ่ตีพิมพ์อย่างต่อเนื่อง

ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

          โอกาสในการพัฒนา

ควรส่งเสริมและสนับสนุนอาจารย์ประจำวิทยาเขตเสนอขอรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากหน่วยงานภายในและภายนอกอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิชาการไปสู่ระดับนานาชาติ

มอบคณะกรรมการวิจัยประจำวิทยาเขต ประสานงานการจัดอบรมและการเผยแผ่ผลงาน

วิทยาเขตล้านนา ได้จัดโครงการการเขียนวิจัยให้ได้ทุนโดยมี ผศ.ดร.อุเทน ลาพิงค์เป็นผู้รับผิดชอบโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแบ่งปันประสบการณ์ “เขียนโครงการวิจัยให้ได้ทุน” ให้กับคณาจารย์ มมร.วิทยาเขตล้านนา และผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2566 วิทยากรโดย พระมหามฆวินทร์ ปริสุตฺตโม,ผศ.ดร. รองอธิการบดีด้านวิจัยและนวัตกรรม รักษาการผู้อำนวยการสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย พร้อมทีมวิทยากร มมร.วิทยาเขตล้านนา ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ มมร.วิทยาเขตล้านนา MBU 2

องค์ประกอบที่ 3 บริการวิชาการ

โอกาสในการพัฒนา

-วิทยาเขตควรกำหนดเป้าหมายและประเด็นการให้บริการวิชาการ ในแผนบริการวิชาการให้ชัดเจน รวมทั้งควรมีแผนการนำผลไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ชุมชนเป้าหมาย และเมื่อดำเนินการในชุมชนเป้าหมาย อย่างต่อเนื่อง

มอบ ผอ.ศูนย์บริการวิชาการล้านนา ร่วมกับคณะกรรมการจัดทำแผนบริการวิชาการ ดำเนินการจัดทำแผนบริการวิชาการและการนำมาใช้ประโยชน์ ให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย

วิทยาเขตล้านนาได้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนบริการวิชาการเสนอต่อกรรมการบริหารเพื่อพิจารณาอนุมัติให้ใช้แผนประจำปีการศึกษา 2565 คณะกรรมการกำกับติดตามการดำเนินงานพร้อมทั้งได้รายงานผลการปฏิบัติการตามแผนเมื่อสิ้นปีการศึกษา และได้นำข้อเสนอแนะจากผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนาการจัดทำแผนบริการวิชาการในปีการศึกษานี้ให้ครอบคลุมชัดเจนมากขึ้น

องค์ประกอบที่ 4 ทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

โอกาสในการพัฒนา  -วิทยาเขตควรมีการวางแผนร่วมกับหลักสูตร เพื่อบูรณาการงานการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม กับด้านการเรียนการสอน การวิจัยและการบริการวิชาการให้มากขึ้น

มอบ ผอ.ศูนย์บริการวิชาการ ร่วมกับอาจารย์ประจำหลักสูตรและคณะกรรมการจัดทำแผนทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม ในการนำมาบูรณาการกับการเรียนการสอนและการวิจัย

วิทยาเขตล้านนาได้จัดทำแผนทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมโดยอาจารย์ประจำหลักสูตรมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมโครงการ และนำไปบูรณาการกับการเรียนการสอน การวิจัยและการบริการวิชาการ ที่หลากหลาย นำข้อเสนอแนะจากผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนาการจัดทำแผนทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมในปีการศึกษานี้ให้ครอบคลุมชัดเจนมากขึ้น

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

จุดที่ควรพัฒนา ธรรมาภิบาลควรมีการยกตัวอย่างให้เข้ากับบทบาทของวิทยาเขต

ฝ่ายบริหารและเลขานุการคณะกรรมการบริหารวิทยาเขต จัดทำแผนการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล

วิทยาเขตล้านนา ได้บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างระบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ.2542 ระบุว่า ธรรมาภิบาล มี 6 องค์ประกอบ คือ 1. หลักนิติธรรม ได้แก่ การตรากฎหมาย กฎ ข้อบังคับต่างๆ ให้ทันสมัยและเป็นธรรม เป็นที่ยอมรับของสังคม  ไม่เลือกปฏิบัติ และสังคมยินยอมพร้อมใจปฏิบัติตามกฎหมายและกฎข้อบังคับ เหล่านั้น โดยถือว่าเป็นการปกครองภายใต้กฎหมาย มิใช่ตามอำเภอใจ หรือตามอำนาจของตัวบุคคล 2. หลักความโปร่งใส ได้แก่ การสร้างความไว้วางใจซึ่งกัน โดยมีการให้และการรับข้อมูลที่สะดวก เป็นจริง ทันการณ์ ตรงไปตรงมา มีที่มาที่ไปที่ชัดเจนและเท่าเทียม มีกระบวนการ ตรวจสอบความถูกต้องชัดเจนได้ 3. หลักการมีส่วนร่วม ได้แก่ การเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วม รับรู้ และร่วมคิด ร่วมเสนอความเห็นในการตัดสินใจปัญหาสำคัญ ของประเทศในด้านต่างๆ เช่น การแจ้งความเห็น การไต่สวนสาธารณะ การประชาพิจารณ์ การแสดงประชามติ  นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการร่วมตรวจสอบ และร่วมรับผิดชอบต่อผลของการกระทำนั้น 4. หลักความรับผิดชอบตรวจสอบได้ ได้แก่ ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้เป็นการสร้างกลไกให้มีผู้รับผิดชอบตระหนักใน หน้าที่ความสำนึกในความรับผิดชอบต่อสังคม การใส่ใจปัญหาสาธารณะของบ้านเมือง และกระตือรือร้นในการแก้ปัญหา ตลอดจนการเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง และความกล้าที่จะยอมรับผลจากการกระทำของตน 5. หลักความคุ้มค่า ได้แก่ การบริหารจัดการและการใช้ทรัพยากรที่มีจำกัด ให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม 6. หลักคุณธรรม ได้แก่ การยึดมั่นในความถูกต้องดีงาม สำนึกใน หน้าที่ของตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินัย และเคารพในสิทธิของผู้อื่น ในแต่ละหัวข้อของหลักธรรมาภิบาลนั้น วิทยาเขตล้านนาได้ดำเนินงานตามนั้น

สรุปผลการประเมิน
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา
ปีการศึกษา 2565
องค์ประกอบคุณภาพ
เป้าหมาย
คะแนนการประเมินตนเอง
คะแนนการประเมิน
การบรรลุเป้าหมาย
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต
1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม
3.01
3.89
3.89
บรรลุ
1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
5
5
5
บรรลุ
1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
5
2.54
2.54
ไม่บรรลุ
1.4 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี
5
5
5
บรรลุ
1.5 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี
5
5
5
บรรลุ
1.6 การส่งเสริมสนับสนุน บัณฑิตปริญญาตรี มีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ด้านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสาร
2
4
3
บรรลุ
1.7 การส่งเสริมสนับสนุน ทักษะทางด้านพระพุทธศาสนาแก่นักศึกษา
2
5
5
บรรลุ
1.8 ร้อยละของผู้ที่สอบผ่านนักธรรมชั้นตรีหรือธรรมศึกษาชั้นตรีระดับอุดมศึกษา
2
4.37
4.37
บรรลุ
1.9 บัณฑิตปริญญาตรีมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์สอบผ่านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด ไม่รับการประเมิน
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต
4.35
4.23
องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย
2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
5
5
5
บรรลุ
2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์
5
5
5
บรรลุ
2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย
5
5
5
บรรลุ
2.4 ผลงานงานวิจัยและ/หรือนวัตกรรมที่พัฒนาปัญญาและคุณธรรม (Knowledge Contribution for Intellectual and Moral Development)
5
5
บรรลุ
2.5 บุคลากรที่มีบทบาทหรือผลงานที่ได้รับการอ้างอิง (Morality Role Model)
0
0
บรรลุ
2.6 ผลงานทางวิชาการที่เกิดจากความร่วมมือกับเครือข่าย (Knowledge Contribution from Intellectual and Moral Cultivation Network)
5
5
บรรลุ
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 การวิจัย
4.17
4.17
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ
3.1 ความเข้มแข็งของเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน (Collaboration Ecosystem for Sustainable Social Development)
2
4
4
บรรลุ
3.2 จำนวนหน่วยงานหรือองค์กรชุมชนเป้าหมาย ที่เป็นเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติอย่างต่อเนื่อง ตามแผนบริการวิชาการ
2
5
5
บรรลุ
3.3 งบประมาณ/ทรัพยากรวิจัยเพื่อการพัฒนาปัญญาและคุณธรรม (Funding for Knowledge Creation in Intellectual and Mortal Development)
2
5
2
บรรลุ
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ
4.67
3.67
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรม และพระพุทธศาสนา
2
5
5
บรรลุ
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
5.00
5.00
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ
5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ
5
5
5
บรรลุ
5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร
5
5
5
บรรลุ
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ
5.00
5.00
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (20 ตัวบ่งชี้)
4.44
4.24

ผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบคุณภาพ
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา
ปีการศึกษา 2565
องค์ประกอบที่ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
0.00-1.50 ระดับคุณภาพต้องปรับปรุงเร่งด่วน
1.51-2.50 ระดับคุณภาพต้องปรับปรุง
2.51-3.50 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.51-4.50 ระดับคุณภาพดี
4.51-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 8 3.77 4.50 4.13 4.23 ดี
2 6 5.00 5.00 3.75 4.17 ดี
3 3 - 4.00 3.50 3.67 ดี
4 1 - 5.00 - 5.00 ดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 ดีมาก
รวม 20 4.18 4.67 3.78 4.24 ดี
ผลการประเมิน ดี ดีมาก ดี ดี ดี

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ/วิทยาเขต/วิทยาลัยตามองค์ประกอบคุณภาพ ย้อนหลัง 3 ปี
ปีการศึกษา องค์ประกอบที่ ค่าเฉลี่ยผลการประเมิน
องค์ประกอบที่ 1-5
12345
2562 3.973.645.005.004.504.13
2563 4.104.323.003.004.003.96
2564 3.844.675.005.005.004.39
2565 4.234.173.675.005.004.24
ข้อเสนอแนะ
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

วิทยาเขตควรมีการกำกับติดตามผลการดำเนินงานของหลักสูตร เพื่อให้ผลการดำเนินงานมีเเนวโน้มที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง

วิทยาเขตควรมีการสนับสนุนการเข้าสู่ตำเเหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้น

วิทยาเขตควรมีการสนับสนุนเรื่องฐานข้อมูลสำหรับศิษย์เก่า เเละควรมีการเชิญชวน ประชาสัมพันธ์ โครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนาเเละสร้างเครือข่างสำหรับศิษย์เก่าเเละศิษย์

ปัจจุบัน

ควรมีการให้ความรู้ด้านงานประกันคุรภาพการศึกษา ในเเต่ละภาคการศึกษา ในรูปเเบบของตาราง/ปฏิทิน หรือมีการบูรณาการการประกันคุรภาพการศึกษาในการทำโครงการ/กิจกรรมของนักศึกษา

วิทยาเขตควรมีการสนับสนุนการดำเนินการตามเเผนพัฒนานักศึกษาด้านภาษาอังกฤษ เเละเทคโนโลยีตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

มหาวิทยาลัยควรมีการขับเคลื่อนทางด้านลิขสิทธ์ สิทธิบัตร ผลงานทางวิชาการ เนื่องจากวิทยาเขตมีการสนับสนุนด้านลิขสิทธ์เเละรอระเบียบจากทางมหาวิทยาลัย

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

วิทยาเขตควรมีการเเลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชนเป้าหมาย เพื่อสะท้อนให้เห็นการนำไปใช้ประโยชน์กับชุมชน

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
-
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

การบริหารความเสี่ยงควรมีการพิจารณาประเด็นความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น โดยไม่นำปัญหาการบริหารจัดการมาเป็นความเสี่ยง เเละควรมีมาตรการในการลดความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น

บทสัมภาษณ์

ผู้ใช้บัณฑิต นักศึกษามีความรู้ความสามารถ ควรพัฒนาทางด้านบุคลิกภาพ การเข้าสังคม เเละเนื่องจากนักศึกษา มมร เป็นกลุ่มชาติพันธิ์ุ จึงควรมีการใช้ภาาาไทยที่เเข็งเเรง

ศิษย์เก่า ได้ความรู้ทางวิชาการอย่างมาก มีการจัดรายวิชาที่เหมาะสมเเละอำนวยความสะดวกให้นักศึกษา ได้รับผลตอบรับที่ดีจากเพื่อนๆเเละผู้ร่วมงาน ควรมีการประชาสัมพันธ์วิทยาเขตเพิ่มขึ้น ควรเพิ่มเติมทักษะการใช้ชีวิตการปรับตัวต่างๆในการทำงาน อยากให้มีช่องทางการสื่อสารของศิษย์เก่าเพื่อการกำกับติดตาม มหาวิทยาลัย เเละอาจารย์ 

นักศึกษา สื่อการเรียนการสอน onsite มีความเหมาะสมครบถ้วน อาจารย์มีการสอดเเทรกเทคโนโลยีการเรียนการสอนที่ดี การเรียนOnline อาจมีปัญหากับนักศึกษาที่อยู่ท้องถิ่นที่ไกล เเละไม่มีสัญญาณ หรืออุปกรณ์ อาจารย์ก็มีการเเนะนำ จัดสรร สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เหมาะสม ควรมีการพัฒนานักศึกษาด้านเทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ เเละทักษะการพูด โดยเฉพาะกลุ่มชาติพันธ์ุที่ต้องการให้พัฒนาทางด้านการใช้ภาษาไทย

 

ภาพถ่าย