Logo

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร (ย่อย) ปีการศึกษา 2565


บทสรุปผู้บริหาร

คณะกรรมการได้ดำเนินการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญาปรัชญาศาสนาและวัฒนธรรม คณะศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาเพื่อการพัฒนาองค์กรทุก ๆ ด้านให้มีประสิทธิภาพตามที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาหรือ สกอ. ได้กำหนดให้สถาบันอุดมศึกษาดำเนินการตามองค์ประกอบคุณภาพ องค์ประกอบ ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้จำนวน 13 ตัวบ่งชี้โดยเป็นกลุ่มสถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรีตัวบ่งชี้ของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา รายงานการประเมินตนเองฉบับนี้ปีการศึกษา 2565 วงรอบ มิถุนายน พ.ศ. 2565 ถึง 31 พฤษภาคม 2566 มีการประเมินตามหลักเกณฑ์ของ สกอ. โดยคะแนนเต็ม 1-5 คะแนนทุกตัวบ่งชี้ ซึ่งผลการประเมินมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
องค์ประกอบที่ การกำกับมาตรฐาน ผ่านการประเมินถือว่าเป็นหลักสูตรที่ได้มาตรฐาน
องค์ประกอบที่ บัณฑิต ได้คะแนน 3.42 อยู่ในระดับดี
องค์ประกอบที่ นักศึกษา ได้คะแนน 3.33 อยู่ในระดับดี
องค์ประกอบที่ อาจารย์ได้คะแนน 3.72 อยู่ในระดับดี
องค์ประกอบที่ หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน ได้คะแนน 4.00 อยู่ในระดับดี
องค์ประกอบที่ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ได้คะแนน 4.00 อยู่ในระดับดี
โดยภาพรวมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญาปรัชญาศาสนาและวัฒนธรรม คณะศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร ถือว่าเป็นหลักสูตรที่ได้มาตรฐาน ได้คะแนนที่ 3.70 อยู่ในระดับดี

บทนำ

1.1 ชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

1) ชื่อหลักสูตร

2) ชื่อปริญญา

3) สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม

1.2 คณะต้นสังกัดและสถานที่เปิดสอน

1) คณะต้นสังกัด วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร

2) สถานที่เปิดสอน

1.3 ปรัชญาความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1) ปรัชญาของหลักสูตร

2) ความสำคัญของหลักสูตร

3) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1.4 รหัสหลักสูตร

สรุปผลการประเมิน
ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพระดับหลักสูตร
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร
ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

เกณฑ์การประเมิน ผลการดำเนินการ
1. จํานวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่น้อยกว่า 5 คนและเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ผ่าน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (วิชาการ) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์และ มีผลงานทางวิชาการ 1 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง
ผ่าน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน และ มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปี ย้อนหลัง ไม่จำกัดจำนวนและประจำได้มากกว่าหนึ่งหลักสูตร
ผ่าน
4. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กันหรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน อาจารย์พิเศษมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์ในการสอนไม่น้อยกว่า 6 ปี
ผ่าน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด มีการปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด ต้องไม่เกิน 5 ปี ตามรอบระยะเวลาของหลักสูตร หรืออย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี
ผ่าน
สรุปผลการประเมิน ผ่าน

ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย คะแนนประเมินจากคณะกรรมการ
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
5
4.27
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
5
5.00
2.3 บัณฑิตปริญญาตรีมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์สอบผ่านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
2
1
2.4 บัณฑิตมีคุณลักษณะทางคุณธรรม
ไม่รับการประเมิน
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
3.42
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.1 การรับนักศึกษา
5
3
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
5
4
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา
5
3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.33
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์
5
3
4.2 คุณภาพอาจารย์
5
3.89
4.3 ผลที่เกิดขึ้นกับ อาจารย์
5
3
4.4 ความเชี่ยวชาญของบุคลากรด้านศาสนาหรือการพัฒนาคุณธรรม
2
5
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
3.72
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
5.1 สาระของรายวิชาใน หลักสูตร
5
4
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
5
4
5.3 การประเมินผู้เรียน
5
4
5.4 ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
5
5
5.5 สัดส่วนหน่วยกิตของวิชาที่มุ่งเน้นการศึกษาหลักศาสนา หรือ นำหลักศาสนามาบูรณาการ
2
3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
4.00
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
5
4
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
4.00
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (16 ตัวบ่งชี้)
3.70
ตารางวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาในระดับหลักสูตรปีการศึกษา 2565
องค์ประกอบที่ คะแนนผ่าน จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย
2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี
4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 Logo 3 - 1.00 4.64 3.42 ดี
3 3 3.33 - - 3.33 ดี
4 4 3.72 - - 3.72 ดี
5 5 4.00 4.00 - 4.00 ดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ดี
รวม 16 3.61 3.50 4.64 3.70 ดี
ผลการประเมิน ดี ดี ดีมาก ดี ดี
จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

แนวทางส่งเสริมและพัฒนา

  • ผลงานทางวิชาการ รวมถึงบทความวิชาการ งานวิจัย ตำรา หรือหนังสือ
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต

แนวทางส่งเสริมและพัฒนา

  • การวางแผนพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรที่ครบวงรอบ โดยให้ผู้มีส่วนได้เสีย ผู้ใช้บัณฑิต ศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบันมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

แนวทางส่งเสริมและพัฒนา

  • การวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์ทางสังคมและเศรษฐกิจเกี่ยวกับการรับจำนวนนักศึกษาที่เหมาะสมเพื่อให้สอดรับกับจำนวนที่กำหนดไว้ใน มคอ.๒
  • การส่งเสริมละพัฒนานักศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

แนวทางส่งเสริมและพัฒนา

  • แผนพัฒนาอาจารย์ โดยกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จที่สามารถวัดได้และประเมินได้ในระยะเวลาที่กำหนด
  • งบประมาณสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์
  • การตีพิมพ์หรือเผยแผ่ผลงานวิจัย บทความวิชาการ หนังสือ ตำรา หรืออื่นๆ อันเป็นการส่งเสริมการเรียนการสอนในระดับชาติหรือนานาชาติ
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

แนวทางส่งเสริมและพัฒนา

  • การบูรณาการการเรียนการสอนกับการวิจัย การบริการวิชาการและหรือการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
  • การประเมินผู้เรียนตามที่กำหนดไว้ใน Curriculum Mapping
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

แนวทางส่งเสริมและพัฒนา

           ควรมีการสำรวจสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ให้มีความพร้อมใช้งานอยู่เสมอ

สิ่งต้องปรับปรุงเร่งด่วน (ถ้ามี)

วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธรตั้งอยู่ทำเลที่เป็นศูนย์กลางคมนาคม เหมาะสำหรับการจัดการเรียนการสอน การฝึกอบรมคุณธรรมจริยธรรมสำหรับข้าราชการ พ่อค้า และประชาชนทั่วไป นอกจากนี้ยังเป็นที่ดึงดูดความสนใจของนักศึกษา รวมไปถึงมีหน่วยงานในท้องถิ่นสนับสนุนการเรียนการสอน และมีความร่วมมือกันดำเนินการกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง

บทสัมภาษณ์

ก. ข้อมูลที่ได้จากการสุนทรียสนทนากับนักศึกษาปัจจุบัน

๑)   สาเหตุที่เลือกมาเรียนที่วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร เพราะประหยัดค่าใช้จ่าย ใกล้บ้าน เดินทางสะดวก อาจารย์สอนเป็นกันเอง อบอุ่น  

๒)   อาจารย์ทุกท่านให้ความรู้เต็มความสามารถ มีโครงการกิจกรรมให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมมากมาย ๓)

๓)   สิ่งที่นักศึกษาต้องการเพิ่มเติมสำหรับสนับสนุนการเรียนการสอน คือ เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น ทักษะของผู้เรียน อุปกรณ์การสื่อสาร สื่อการเรียนการสอน อินเตอร์เน็ตที่เสถียร ภูมิทัศน์บริเวณวิทยาลัย  

 

ข. ข้อมูลที่ได้จากการสุนทรียสนทนากับศิษย์เก่า

๑)   เลือกเรียนที่วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร เพราะมีทุนสนับสนุนและค่าเทอมไม่แพงเกินไป ทำให้ได้รู้และเข้าใจในหลักธรรมทางพุทธศาสนามากขึ้น

๒)   อยากให้มีงบประมาณสำหรับการบริหารจัดการให้พอเหมาะ การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

๓)   อยากให้วิทยาลัยจัดงานให้มีเวทีพบปะสังสรรค์ศิษย์เก่า-ปัจจุบัน อยากมีส่วนร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุนทุนการศึกษาแก่ปัจจุบัน

ภาพถ่าย