Logo

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร (ย่อย) ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2563)


บทสรุปผู้บริหาร

 การดำเนินงานของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่อยู่ในกลุ่ม ค 2 (สถาบันเฉพาะทางที่เน้นระดับปริญญาตรี) ได้คะแนนการประเมินตนเอง 3.96 มีคุณภาพอยู่ในระดับดี โดยมีรายละเอียด ผลการดำเนินงานทั้ง 6 องค์ประกอบ ดังนี้

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน คณะศาสนาและปรัชญา ภาควิชาปรัชญา สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย มีผลการบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรในองค์ประกอบที่ 1 นี้ คือ ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน

องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต คณะศาสนาและปรัชญา ภาควิชาปรัชญา สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม การผลิตบัณฑิตหรือการจัดเการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความรู้ในวิชาและวิชาชีพ มีคุณลักษณะตามหลักสูตรที่กำหนด บัณฑิตระดับอุดมศึกษาจะต้องเป็นผู้มีความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม มีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 2 นี้ เท่ากับ 3.49 อยู่ในระดับดี

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา คณะศาสนาและปรัชญา ภาควิชาปรัชญา สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม นักศึกษาระบบการประกันคุณภาพนักศึกษา ต้องให้ความสำคัญกับการรับหรือคัดเลือกนักศึกษา และการส่งเสริมพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ความพร้อมทางการเรียน เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถ ตามหลักสูตร มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 3 นี้ เท่ากับ 3.33 อยู่ในระดับดี

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ คณะศาสนาและปรัชญา ภาควิชาปรัชญา สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม มีการบริหารและพัฒนาอาจารย์ คุณภาพอาจารย์ และผลลัพธ์ที่เกิดกับอาจารย์ ผลการประเมิน ตนเองในองค์ประกอบที่ 4 นี้เท่ากับ 4.22 อยู่ในระดับดีมาก

องค์ประกอบที่ 5 การเรียนการสอนการประเมินผู้เรียน คณะศาสนาและปรัชญา ภาควิชาปรัชญา สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม  มีการกำกับการบริหารจัดการหลักสูตรให้มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 5 นี้เท่ากับ 4.40 อยู่ในระดับดีมาก

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ คณะศาสนาและปรัชญา ภาควิชาปรัชญา สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม มีการสนับสนุนให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ผลการประเมินตนเองใน องค์ประกอบที่ 6 นี้เท่ากับ 4.00 อยู่ในระดับดี

บทนำ

1.1 ชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

1) ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2563)

2) ชื่อปริญญา

3) สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม

1.2 คณะต้นสังกัดและสถานที่เปิดสอน

1) คณะต้นสังกัด วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย

2) สถานที่เปิดสอน

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย

1.3 ปรัชญาความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1) ปรัชญาของหลักสูตร

2) ความสำคัญของหลักสูตร

3) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1.4 รหัสหลักสูตร 25631864002574

สรุปผลการประเมิน
ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพระดับหลักสูตร
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรม หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2563)
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย
ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

เกณฑ์การประเมิน ผลการดำเนินการ
1. จํานวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่น้อยกว่า 5 คนและเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ผ่าน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (วิชาการ) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์และ มีผลงานทางวิชาการ 1 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง
ผ่าน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน และ มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปี ย้อนหลัง ไม่จำกัดจำนวนและประจำได้มากกว่าหนึ่งหลักสูตร
ผ่าน
4. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กันหรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน อาจารย์พิเศษมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์ในการสอนไม่น้อยกว่า 6 ปี
ผ่าน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด มีการปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด ต้องไม่เกิน 5 ปี ตามรอบระยะเวลาของหลักสูตร หรืออย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี
ผ่าน
สรุปผลการประเมิน ผ่าน

ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย คะแนนประเมินจากคณะกรรมการ
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
5
4.46
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
5
5.00
2.3 บัณฑิตปริญญาตรีมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์สอบผ่านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
2
1
2.4 บัณฑิตมีคุณลักษณะทางคุณธรรม
ไม่รับการประเมิน
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
3.49
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.1 การรับนักศึกษา
5
3
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
5
4
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา
5
3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.33
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์
5
4
4.2 คุณภาพอาจารย์
5
3.89
4.3 ผลที่เกิดขึ้นกับ อาจารย์
5
4
4.4 ความเชี่ยวชาญของบุคลากรด้านศาสนาหรือการพัฒนาคุณธรรม
2
5
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
4.22
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
5.1 สาระของรายวิชาใน หลักสูตร
5
4
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
5
4
5.3 การประเมินผู้เรียน
5
4
5.4 ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
5
5
5.5 สัดส่วนหน่วยกิตของวิชาที่มุ่งเน้นการศึกษาหลักศาสนา หรือ นำหลักศาสนามาบูรณาการ
2
5
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
4.40
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
5
4
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
4.00
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (16 ตัวบ่งชี้)
3.96
ตารางวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาในระดับหลักสูตรปีการศึกษา 2565
องค์ประกอบที่ คะแนนผ่าน จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย
2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี
4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 Logo 3 - 1.00 4.73 3.49 ดี
3 3 3.33 - - 3.33 ดี
4 4 4.22 - - 4.22 ดีมาก
5 5 4.00 4.50 - 4.40 ดีมาก
6 1 - 4.00 - 4.00 ดี
รวม 16 3.86 3.83 4.73 3.96 ดี
ผลการประเมิน ดี ดี ดีมาก ดี ดี
จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน
-
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
-
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

- ควรเพิ่มช่องทางการรับนักศึกษาในทุกๆช่องทางให้มากขึ้น

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

- ควรสนับสนุนและส่งเสริมให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเรียนต่อในระดับปริญญาเอก

- ควรสนับสนุนและส่งเสริมให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทำผลงานทางวิชาการเพื่อเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

ควรมีการบูรณาการการเรียนการสอนให้ครบทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านการวิจัย การบริการวิชาการ และการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
-
สิ่งต้องปรับปรุงเร่งด่วน (ถ้ามี)
บทสัมภาษณ์
  • สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้เป็นอย่างไรบ้าง

ตอบ ในยุคนั้นยังไม่มีการเรียนออนไลน์ มีแค่โปรเจคเตอร์ และมีอาจารย์ที่เก่งเทคโนโลยีและมีการแนะนำให้แก่นักศึกษา

  • ท่านเรียนมากับเอาไปใช้ในปัจจุบันสอดคล้องกันไหม

ตอบ ต้องบอกว่า อันดับแรกไม่คิดว่าจะได้ใช้ แต่บทบาทอาจจะเกี่ยวข้องกับบุคคล วิชาปรัชญามีประโยชน์หลายๆได้ ปรัชญาจะให้แนวคิดที่เป็นสร้างสรรค์ได้ มันเป็นพื้นฐานทางปรัชญาทั้งหมด มาจากพื้นฐานของวิธีคิดที่สมบูรณ์แบบมากกว่าเพื่อน

  • ท่านอยากให้หลักสูตรปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอะไร

ตอบ สงเสริมการนำไปใช้ให้ดีขึ้น เพราะวิชานี้เป็นวิชาที่สำคัญแค่คนไม่สามารถนำไปใช้ได้จริงหรือไม่รู้แนวทางที่จะนำไปใช้ จะเอาไปใช้อย่างไร

  • ก่อนที่ท่านจะเรียนรู้ได้อย่างไรว่าที่ มวก มีหลักสูตรนี้

ตอบ ก่อนโควิดเรียนจบ กศน. ที่วัดมีการอบรมนักเรียนเยอะ และคิดว่าความรู้ที่เรามีอยู่ในทางพระพุทธศาสนายังไม่เพียงพอ เราก็เลยไปสมัครเรียนที่ มวก ตอนแรกไปสมัครที่ศาลายาแต่เดินทางลำบาก เลยเลือก มวก เดินทางสะดวก เรื่องหลักสูตรที่ได้เรียนมาตอนแรกสามารถเรียนได้ทุกวิชา และดีขึ้นตามลำดับ ยอกรับว่าในเรื่องพระพุทธศาสนาเรียนในวัดดีกว่า เพราะในวัดก็มีระบบของเขา เราเป็นพระก็ต้องอยู่วิถีพระ อยู่ทางโลกปรับตัวไม่ค่อยทัน แต่ก็สามารถปรับให้ดีขึ้นได้

  • มวก มีทุนการศึกษาให้ไหม

ตอบ มีทุน เราได้ทุนการศึกษาทุกเทอมซึ่งจะดูจากผลการเรียน เพื่อไว้จ่ายค่าเทอม บางทีได้มาก็ส่งต่อให้เด็กที่คาดแคลน และทุนการศึกษามีเยอะอยู่ และมีนักศึกษาดีขึ้น

  • วันแรกที่เข้ามาเรียนมีความรู้สึกไหมว่าเราไม่เคยมีประสบการมาก่อน และทางหลักสูตรมีแนะนำอย่างไร

ตอบ ที่ไปเรียน มวก คือตลอดชีวิตบวชมาตลอดคิดว่าวัดดีที่สุดแล้ว ตอนแรกจะไปเรียนศาลายาแต่ไม่คุ้นเคย เราเคยอยู่แบบนี้ เลยเรียนที่ มวก และปรับตัวเข้ากับ มวก และอดทนเรียนทั้งหลักธรรมและทางโลกจนปรับตัวได้เอง

  • ถ้าอยากให้หลักสูตรประชาสัมพันธ์มากขึ้นต้องให้หลักสูตรทำอย่างไร

ตอบ มหาวิทยาลัยสงฆ์ให้ความสำคัญกับพระพุทธศาสนา ส่วนมากที่มาเรียนต้องศรัทธาในพระพุทธศาสนาและอยากเรียนจริงๆ เพราะส่วนมากที่เข้ามาจะตั้งคำถามว่าจบมาแล้วจะไปทำอะไร ซึ่งเรายังเรียนไม่ถึง แต่ถ้าเรียนครบก็สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้หมด

  • ก่อนจะมาเรียนมีความหวังอย่างที่ตั้งไว้ไหม

ตอบ ดีกว่าที่เราตั้งไว้ เราสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ถ่ายทอดกับชาวบ้านและนำมาช่วยให้เขาเข้าใจหลักคำสอนของพระพุทธศาสนามากยิ่งขึ้น

ภาพถ่าย