Logo

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร (ย่อย) ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร หลักสูตรใหม่ (พ.ศ. 2561)


บทสรุปผู้บริหาร

ผลการประเมินเฉลี่ยในภาพรวมทุกองค์ประกอบ พบว่า หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ วิทยาเขตร้อยเอ็ด โดยมีคะแนนเฉลี่ยทุกมาตรฐาน เท่ากับ 3.42 มีคุณภาพอยู่ในระดับคุณภาพดี

ผลการประเมินสรุปได้ ดังนี้

องค์ประกอบที่ 1 ผลการประเมิน ผ่านตามเกณฑ์

องค์ประกอบที่ 2 ผลคะแนน 3.46  อยู่ในเกณฑ์ระดับ ดี

องค์ประกอบที่ 3 ผลคะแนน 3.33 อยู่ในเกณฑ์ระดับ ดี

องค์ประกอบที่ 4 ผลคะแนน  4.08  อยู่ในเกณฑ์ระดับ ดีมาก

องค์ประกอบที่ 5 ผลคะแนน 3.00 อยู่ในเกณฑ์ระดับ ปานกลาง

องค์ประกอบที่ 6 ผลคะแนน 3.00 อยู่ในเกณฑ์ระดับ ปานกลาง

บทนำ

1.1 ชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

1) ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร หลักสูตรใหม่ (พ.ศ. 2561)

2) ชื่อปริญญา ศศ.บ. ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร)

3) สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

1.2 คณะต้นสังกัดและสถานที่เปิดสอน

1) คณะต้นสังกัด มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย ในพระสังฆราชูปถัมภ์

2) สถานที่เปิดสอน

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย ในพระสังฆราชูปถัมภ์

1.3 ปรัชญาความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1) ปรัชญาของหลักสูตร

ผลิตบัณฑิตที่มีความรอบรู้ทางด้านภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยสามารถบูรณาการ พระพุทธศาสนาเพื่อความเป็นเลิศในวิชาการ และเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีลธรรม คุณธรรมจริยธรรม

2) ความสำคัญของหลักสูตร

(1) เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของสังคมและให้มีความเหมาะสมต่อบริบทการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารที่ต้องการผลิตบัณฑิตเข้าสู่ระดับนานาชาติ

(2) เปิดตามผลการสำรวจความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต

(3) เพื่อให้ได้หลักสูตรที่ทันสมัยและเน้นไปเฉพาะทางด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ

(4) ตอบสนองต่อนโยบายการเปิดการค้าเสรีอาเซียน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล

(5) เพื่อให้เหมาะสมกับตลาดแรงงานทั้งในไทยและระดับภูมิภาคอาเซียน

3) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

(1) เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ใน การเผยแผ่พระพุทธศาสนา เช่น ศาสนพิธี ประเพณีและศิลปวัฒนธรรมของไทยทั้งในและต่างประเทศ
(2) เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในการนำความรู้ด้านภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสาร ไปใช้ประกอบอาชีพทั้งภาครัฐและเอกชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

(3) เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ มีศีลธรรม คุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบและสามารถรับใช้สังคมได้

1.4 รหัสหลักสูตร 25611861100038

สรุปผลการประเมิน
ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพระดับหลักสูตร
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร หลักสูตรใหม่ (พ.ศ. 2561)
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย ในพระสังฆราชูปถัมภ์
ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

เกณฑ์การประเมิน ผลการดำเนินการ
1. จํานวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่น้อยกว่า 5 คนและเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ผ่าน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (วิชาการ) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์และ มีผลงานทางวิชาการ 1 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง
ผ่าน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน และ มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปี ย้อนหลัง ไม่จำกัดจำนวนและประจำได้มากกว่าหนึ่งหลักสูตร
ผ่าน
4. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กันหรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน อาจารย์พิเศษมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์ในการสอนไม่น้อยกว่า 6 ปี
ผ่าน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด มีการปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด ต้องไม่เกิน 5 ปี ตามรอบระยะเวลาของหลักสูตร หรืออย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี
ผ่าน
สรุปผลการประเมิน ผ่าน

ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย คะแนนประเมินจากคณะกรรมการ
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
5
3.70
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
5
3.67
2.3 บัณฑิตปริญญาตรีมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์สอบผ่านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
2
3
2.4 บัณฑิตมีคุณลักษณะทางคุณธรรม
ไม่รับการประเมิน
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
3.46
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.1 การรับนักศึกษา
5
4
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
5
3
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา
5
3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.33
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์
5
4
4.2 คุณภาพอาจารย์
5
3.33
4.3 ผลที่เกิดขึ้นกับ อาจารย์
5
4
4.4 ความเชี่ยวชาญของบุคลากรด้านศาสนาหรือการพัฒนาคุณธรรม
2
5
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
4.08
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
5.1 สาระของรายวิชาใน หลักสูตร
5
3
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
5
3
5.3 การประเมินผู้เรียน
5
3
5.4 ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
5
5
5.5 สัดส่วนหน่วยกิตของวิชาที่มุ่งเน้นการศึกษาหลักศาสนา หรือ นำหลักศาสนามาบูรณาการ
2
1
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
3.00
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
5
3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
3.00
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (16 ตัวบ่งชี้)
3.42
ตารางวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาในระดับหลักสูตรปีการศึกษา 2565
องค์ประกอบที่ คะแนนผ่าน จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย
2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี
4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 Logo 3 - 3.00 3.69 3.46 ดี
3 3 3.33 - - 3.33 ดี
4 4 4.08 - - 4.08 ดีมาก
5 5 3.00 3.00 - 3.00 ปานกลาง
6 1 - 3.00 - 3.00 ปานกลาง
รวม 16 3.67 3.00 3.69 3.42 ดี
ผลการประเมิน ดี ปานกลาง ดี ดี ดี
จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน
-
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต

ทางหลักสูตรอธิบายการใช้เกณฑ์ภาษาอังกฤษว่าหลักสูตรเรายึดตามเกณฑ์ภาษาอังกฤษในเกณฑ์ใดของการจบในหลักสูตรนี้

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

การแนะแนวให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาของหลักสูตรมีการดำเนินการอย่างไรแบ่งการดำเนินงานของอาจารย์อย่างไร

ควรจัดกิจกรรมในการแข่งขันให้นักศึกษาระหว่างเครือข่ายหรือต่างสถาบันในด้านภาษาหรือกิจกรรมต่างๆให้นักศึกษามากขึ้น

ควรเตรียมตลาดแรงงานสำหรับนักศึกษาที่จบ

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

จุดเด่น

อาจารย์ประจำหลักสูตรมีการตีพิมพ์ผลงานในฐานที่สูงเป็นที่ยอมรับ

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

อธิบายถึงโครงสร้างหลักสูตรเดิมและประบปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยของหลักสูตรอย่างไรผลจากเดิมเป็นอย่างไรมีการปรับเปลี่ยนอะไรไปบ้างเพื่อให้ได้หลักสูตรที่สมบูรณ์

 

อธิบายให้เห็นภาพว่าเราใช้การบูรณาการในหลักสูตรเข้ากับหลักสูตรในด้านใดและผลที่ได้รับเป็นเช่นไร

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

อธิบายถึงกระบวนการการจัดสรรค์ในสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้อาจารย์มีการจัดสรรค์อะไรแต่ละด้านให้กับนักศึกษาเป็นอย่างไรและผลการประเมินทำให้ได้อะไร โดยทำโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นจุดเด่นผ่านสื่อออกมา

สิ่งต้องปรับปรุงเร่งด่วน (ถ้ามี)
บทสัมภาษณ์
ภาพถ่าย