Logo

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร (ย่อย) ปีการศึกษา 2565


บทสรุปผู้บริหาร

 จากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณทิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่อยู่ในกลุ่ม ค 2 (สถาบันเฉพาะทางที่เน้นระดับปริญญาตรี) ได้คะแนนการประเมินตนเอง 2.93  มีคุณภาพระดับปานกลาง  โดยมีรายละเอียดผลการดำเนินงานทั้ง องค์ประกอบ ดังนี้

          องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มีผลการบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ในองค์ประกอบที่ นี้ คือ ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน

          องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน การผลิตบัณฑิตหรือการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความรู้ในวิชาและวิชาชีพ มีคุณลักษณะตามหลักสูตรที่กำหนด บัณฑิตระดับอุดมศึกษาจะต้องเป็นผู้มีความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม มีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ซึ่งในองค์ประกอบที่ นี้ ขอรับการประเมินแค่  1.00  ระดับน้อย 

          องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน นักศึกษา ระบบการประกันคุณภาพนักศึกษา ต้องให้ความสำคัญกับการรับหรือคัดเลือกนักศึกษาและการส่งเสริมพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ความพร้อมทางการเรียน เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21  ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ นี้เท่ากับ 3.33 ระดับปานกลาง

          องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มีการบริหารและพัฒนาอาจารย์ คุณภาพอาจารย์และผลลัพธ์ที่เกิดกับอาจารย์ ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ นี้เท่ากับ 2.25 ระดับปานกลาง

          องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มีการกำกับการบริหารจัดการหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างต่อเนื่องผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ นี้เท่ากับ 3.60 ระดับดี

          องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มีการสนับสนุนให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตามมาตรฐานผลการaเรียนรู้ที่กำหนดตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ นี้เท่ากับ 4.00 ระดับดี

 

บทนำ

1.1 ชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

1) ชื่อหลักสูตร

2) ชื่อปริญญา

3) สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย (4 ปี)

1.2 คณะต้นสังกัดและสถานที่เปิดสอน

1) คณะต้นสังกัด วิทยาเขตอีสาน

2) สถานที่เปิดสอน

1.3 ปรัชญาความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1) ปรัชญาของหลักสูตร

2) ความสำคัญของหลักสูตร

3) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1.4 รหัสหลักสูตร

สรุปผลการประเมิน
ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพระดับหลักสูตร
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

เกณฑ์การประเมิน ผลการดำเนินการ
1. จํานวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่น้อยกว่า 5 คนและเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ผ่าน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (วิชาชีพ) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์และ มีผลงานทางวิชาการ 1 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ (วิชาชีพ)
ผ่าน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน และ มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปี ย้อนหลัง ไม่จำกัดจำนวนและประจำได้มากกว่าหนึ่งหลักสูตร
ผ่าน
4. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กันหรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน อาจารย์พิเศษมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์ในการสอนไม่น้อยกว่า 6 ปี
ผ่าน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด มีการปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด ต้องไม่เกิน 5 ปี ตามรอบระยะเวลาของหลักสูตร หรืออย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี
ผ่าน
สรุปผลการประเมิน ผ่าน

ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย คะแนนประเมินจากคณะกรรมการ
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
ไม่รับการประเมิน
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
ไม่รับการประเมิน
2.3 บัณฑิตปริญญาตรีมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์สอบผ่านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
2
1
2.4 บัณฑิตมีคุณลักษณะทางคุณธรรม
ไม่รับการประเมิน
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
1.00
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.1 การรับนักศึกษา
5
3
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
5
3
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา
5
3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.00
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์
5
3
4.2 คุณภาพอาจารย์
5
1.67
4.3 ผลที่เกิดขึ้นกับ อาจารย์
5
3
4.4 ความเชี่ยวชาญของบุคลากรด้านศาสนาหรือการพัฒนาคุณธรรม
2
2
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
2.42
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
5.1 สาระของรายวิชาใน หลักสูตร
5
3
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
5
3
5.3 การประเมินผู้เรียน
5
3
5.4 ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
5
5
5.5 สัดส่วนหน่วยกิตของวิชาที่มุ่งเน้นการศึกษาหลักศาสนา หรือ นำหลักศาสนามาบูรณาการ
2
4
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
3.60
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
5
4
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
4.00
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (14 ตัวบ่งชี้)
2.98
ตารางวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาในระดับหลักสูตรปีการศึกษา 2565
องค์ประกอบที่ คะแนนผ่าน จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย
2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี
4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 Logo 1 - 1.00 - 1.00 น้อย
3 3 3.00 - - 3.00 ปานกลาง
4 4 2.42 - - 2.42 ปานกลาง
5 5 3.00 3.75 - 3.60 ดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ดี
รวม 14 2.71 3.33 - 2.98 ปานกลาง
ผลการประเมิน ปานกลาง ดี - ปานกลาง ปานกลาง
จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

แนวทางเสริม

1. อาจารย์ส่งเสริมและพัฒนาศ้กยภาพผลงานทางตำแหน่งทางวิชาการ ผศ. รศ. 

2. การอ้างอิงผลงานทางวิชกาารในกรณีที่ผลงานร่วมกันควรเขียนอ้างอิงให้ครบตามชื่อผลงานทางวิชาการ

3. อาจารย์ควรส่งเสริมและทำผลงานทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย 3 รายการในรอบ 5 ปี ทุกท่าน

องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต

แนวทางเสริม

ควรจัดทำ Flowchart ระบบและกลไกให้ชัดเจน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

แนวทางเสริม

1.อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรศึกษาระบบและกลไกของสถาบัน และหลักสูตรนำระบบและกลไกมาพัฒนาปรับปรุงการดำเนินการ

2.ส่งเสริมระบบและกลไกอาจารย์ที่ปรึกษาแนะแนวชีวิต เพื่อรักษาการคงอยู่สำหรับนักศึกษา

3.การเตรียมความพร้อมของนักศึกษา ควรมาจากการสำรวจพื้นฐานความรู้นักศึกษา และความต้องการของนักศึกษา และตลาดแรงงานที่นักศึกษาจะออกไปประกอบอาชีพเรียนจบ

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

แนวทางเสริม

การส่งเสริมให้อาจารย์เพิ่มคุณวุฒิตามเกณฑ์การพัฒนาบุคลากรด้านศาสนาเช่นการสอบธรรมศึกษาอย่างต่อเนื่อง

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

แนวทางเสริม

1.ผลของการประเมินผู้เรียน ปีที่ผ่านมา เพื่อมาพัฒนาให้เห็นเป็นรูปธรรม

2.ส่งเสริมการบูรณาการหลักธรรมเพื่อพัฒนาจิตปัญญาในทุกรายวิชาที่เปิดสอนเนื่องจากครูปฐมวัยเป็นขั้นแรกของการศึกษาจึงต้องมีคุณธรรมซึมซับทุกการเรียนการสอน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

แนวทางเสริมจุดเด่น

สร้างแนวปฏิบัติที่ดีที่ จากกระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนิสิตและ อาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

สิ่งต้องปรับปรุงเร่งด่วน (ถ้ามี)
บทสัมภาษณ์

สัมภาษณ์นักศึกษาปัจจุบัน

  1. นักศึกษาคิดว่าสิ่งที่แตกต่างจากสถาบันอื่น คืออะไร
  • การจัดการเรียนการสอนโดยการบูรณาการกับพระพุทธศาสนาทำให้เราควบคุมอารมณ์ตัวเอง และสามารถควบคุมเด็กได้
  1. กระบวนการเรียนการสอน มีการนำแนวคิดและการบูรณาการเข้าสู่รายวิชาอะไร
  • การสวดมนต์ การเข้าเรียน และหลังเรียน , นั่งสมาธิ และการทำกิจกรรมกับนักศึกษาโดยเสริมสร้างด้านสติปัญญาให้เด็กรู้จักคิด , มีเมตตา ต่อบุคคลอื่น
  1. นักศึกษาคิดว่าอัตลักษณ์ของหลักสูตร หรือมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ที่สะท้อนว่าเป็นอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เพราะเหตุผลอะไร
  • มีการแต่งกายที่แตกต่าง เช่น ใส่กระโปรงยาว นุ่งกระโปงผ้าซิ่นในวันอังคาร
  • มีวัฒนธรรมด้านมารยาท ที่เด่นชัด มีการไหว้ที่อ้อนน้อมตามแบบฉบับของ นักศึกษา มมร.
  1. นักศึกษาคาดหวังครูที่ดีควรมีทักษะด้านปฐมวัย อะไรบ้าง
  • ทักษะด้านวิชาการ
  • ทักษะด้านคุณธรรมจริยธรรม
  • ทักษะไหวพริบ เคลื่อนไหว

สัมภาษณ์ผู้ปกครอง

  1. การเปลี่ยนแปลงของนักศึกษาหลังจากที่ได้ศึกษาผู้ปกครองเห็นแววการเป็นครูเห็นการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
  • นักศึกษามีความรับผิดชอบมากขึ้น มีไหวพริบ ความอ่อนโยน มีจิตใจเอื้อเฟื้อต่อเด็ก และมีจริยธรรมบ่มเพราะบัณฑิตจบไปเป็นครูที่ดีได้
  1. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยหรือหลักสูตรได้บูรณาการพระพุทธศาสนามาสอน บัณฑิตมี อัตลักษณ์ที่โดดเด่นจากสถาบันอื่นอย่างไร
  • บุคลิกภาพที่เป็นอัตลักษณ์เฉพาะ เช่น มารยาท อ่อนน้อมถ่อมตน ประพฤติที่ดีงาม การไหว้ที่มีความโดดเด่น
  1. อยากจะให้มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยหรือหลักสูตรเพิ่มเติมบัณฑิตและนักศึกษาอะไร
  • ฝึกการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ให้มากขึ้นและเข้มแข็งยังยืน
ภาพถ่าย