Logo

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร (ย่อย) ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ (4 ปี) หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2562)


บทสรุปผู้บริหาร

จากผลการดำเนินงานของหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่อยู่ในกลุ่ม ค2 (สถาบันเฉพาะทางที่เน้นระดับปริญญาตรี) ได้คะแนนการประเมินตนเอง 3.98 มีคุณภาพอยู่ในระดับดี โดยมีรายละเอียดผลการดำเนินงานทั้ง 6 องค์ประกอบ ดังนี้
        องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐานคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มีผลการบริหารจัดการหลักสุตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ในองค์ประกอบที่ 1 นี้ คือ ผ่าน
        องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน การผลิตบัณฑิตหรือการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความรู้ในวิชาและวิชาชีพ มีคุณลักษณะตามหลักสูตรที่กำหนด บัณฑิตระดับอุดมศึกษาจะต้องเป็นผู้มีความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม มีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 2 นี้ เท่ากับ 2.98 ปานกลาง
        องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน นักศึกษา ระบบการประกันคุณภาพนักศึกษา ต้องให้ความสำคัยกับการรับหรือคัดเลือกนักศึกษาและการส่งเสริมพัฒนานักสึกษาให้มีความรู้ความพร้อมทางการเรียน เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถตามหลักสุตร มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 3 นี้ เท่ากับ 3.00 ปานกลาง
        องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มีการบริหารและพัฒนาอาจารย์ คุณภาพอาจารย์และผลลัพธ์ที่เกิดกับอาจารย์ ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 4 นี้เท่ากับ 3.17  ดี
        องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียนคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มีการกำกับการบริหารจัดการหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างต่อเนื่องผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 5 นี้เท่ากับ 3.60  ดี
        องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มีการสนับสนุนให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 6 นี้เท่ากับ 3  ปานกลาง

บทนำ

1.1 ชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

1) ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ (4 ปี) หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2562)

2) ชื่อปริญญา ศึกษาศาสตรบัณฑิต

3) สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ (4 ปี)

1.2 คณะต้นสังกัดและสถานที่เปิดสอน

1) คณะต้นสังกัด วิทยาเขตอีสาน

2) สถานที่เปิดสอน

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

1.3 ปรัชญาความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1) ปรัชญาของหลักสูตร

      หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถในด้านการสอนมีการบูรณาการการสอนให้เข้ากับวิชาการทางพระพุทธศาสนาสามารถปฏิบัติหน้าที่ความเป็นครูสอนภาษาอังกฤษและเป็นบัณฑิตมีความรู้ความสามารถ (Capability) ทางด้านการสอนภาษาอังกฤษกล้าคิด กล้าทำ กล้าวิพากษ์อย่างมีเหตุผล มีจรรยาบรรณและจริยธรรมสำหรับครูในการดำเนินชีวิตบนพื้นฐานหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

2) ความสำคัญของหลักสูตร

     ปัจจุบันความต้องการทรัพยากรมนุษย์ที่มีความสามารถทางภาษาเพื่อเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศให้มีความพร้อมในการแข่งขันในบริบทนานาชาติและในบริบทประชาคมอาเซียน ด้วยเหตุนี้ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีผู้ที่มีความสามารถทางภาษาอังกฤษมากพอที่จะเป็นแม่แบบได้และสามารถพัฒนาความสามารถทางภาษาอังกฤษของผู้อื่นได้อย่างถูกหลักวิชาการเรียนการสอนภาษา และในขณะเดียวกันมีความสามารถที่จะเชื่อมโยงความรู้ทางภาษาอังกฤษกับบริบทของโลกาภิวัตน์ รวมทั้งสามารถศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านการเรียนการสอนภาษาอังกฤษได้ ทรัพยากรมนุษย์เหล่านี้จำเป็นต้องได้รับการพัฒนาทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

3) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

  1. บัณฑิตมีหลักธรรมในการดำเนินชีวิต สามารถประยุกต์ใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาแก้ปัญหาและดำเนินชีวิต มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ และสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีต่อสังคมได้
  2. บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจในหลักภาษาอังกฤษและภาษาไทย รู้จักกฎเกณฑ์ทางสังคม เคารพกฎหมาย มีความรู้เท่าทันเทคโนโลยีและใช้ให้เกิดประโยชน์  ตระหนักถึงคุณค่าความเป็นไทยและศิลปะวัฒนธรรมไทย
  3. บัณฑิตมีทักษะในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ฉลาดรู้ที่จะแสวงหาแนวทางการทำงานและดำรงชีวิตได้อย่างเป็นสุขและสร้างสรรค์
  4. มีความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี รู้จักใช้เหตุและผล  มีระเบียบวินัย มีจิตอาสา มีการวางแผนในการทำงานและดำเนินตามแผนที่วางไว้  มีความรับผิดชอบและตรงต่อเวลา

1.4 รหัสหลักสูตร 25621864001076

สรุปผลการประเมิน
ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพระดับหลักสูตร
หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ (4 ปี) หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2562)
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

เกณฑ์การประเมิน ผลการดำเนินการ
1. จํานวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่น้อยกว่า 5 คนและเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ผ่าน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (วิชาชีพ) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์และ มีผลงานทางวิชาการ 1 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ (วิชาชีพ)
ผ่าน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน และ มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปี ย้อนหลัง ไม่จำกัดจำนวนและประจำได้มากกว่าหนึ่งหลักสูตร
ผ่าน
4. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กันหรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน อาจารย์พิเศษมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์ในการสอนไม่น้อยกว่า 6 ปี
ผ่าน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด มีการปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด ต้องไม่เกิน 5 ปี ตามรอบระยะเวลาของหลักสูตร หรืออย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี
ผ่าน
สรุปผลการประเมิน ผ่าน

ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย คะแนนประเมินจากคณะกรรมการ
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
5
4.31
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
5
2.64
2.3 บัณฑิตปริญญาตรีมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์สอบผ่านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
2
2
2.4 บัณฑิตมีคุณลักษณะทางคุณธรรม
ไม่รับการประเมิน
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
2.98
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.1 การรับนักศึกษา
5
3
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
5
3
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา
5
3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.00
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์
5
3
4.2 คุณภาพอาจารย์
5
1.67
4.3 ผลที่เกิดขึ้นกับ อาจารย์
5
3
4.4 ความเชี่ยวชาญของบุคลากรด้านศาสนาหรือการพัฒนาคุณธรรม
2
5
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
3.17
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
5.1 สาระของรายวิชาใน หลักสูตร
5
3
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
5
3
5.3 การประเมินผู้เรียน
5
3
5.4 ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
5
5
5.5 สัดส่วนหน่วยกิตของวิชาที่มุ่งเน้นการศึกษาหลักศาสนา หรือ นำหลักศาสนามาบูรณาการ
2
4
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
3.60
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
5
3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
3.00
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (16 ตัวบ่งชี้)
3.23
ตารางวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาในระดับหลักสูตรปีการศึกษา 2565
องค์ประกอบที่ คะแนนผ่าน จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย
2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี
4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 Logo 3 - 2.00 3.48 2.98 ปานกลาง
3 3 3.00 - - 3.00 ปานกลาง
4 4 3.17 - - 3.17 ดี
5 5 3.00 3.75 - 3.60 ดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ปานกลาง
รวม 16 3.08 3.33 3.48 3.23 ดี
ผลการประเมิน ดี ดี ดี ดี ดี
จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน
-
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
-
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

 

การปรับปรุงกระบวนการหรือการจัดกิจกรรมให้นักศึกษาควร ควรวางแผนประชุมเพื่อหาโครงการกิจกรรมให้เหมาะสมกับนักศึกษาและประเมินกระบวนการกิจกรรมให้สอดคล้องได้ผลกับหลักสูตร

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

ควรมีการปรับปรุงกระบวนการในการรับอาจารย์ประจำหลักสูตรการบริหารอาจารย์เพื่อให้หลักสูตร มีประสิทธิภาพ

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

การปรับปรุงศาสตร์ในรายวิชาของหลักสูตรมีกระบวนการปรับปรุงแก้ไขอย่างไรเพื่อให้นักศึกษามีผลลัพธ์ที่ดีขึ้น

ผลความสำเร็จของนักศึกษาเกิดจากสิ่งใดในการปรับปรุงหลักสูตรได้ผลอย่างไร

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

หลักสูตรควรมีการจัด สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ควร จัดให้เข้ากับสถานะการณ์ปัจจุบัน ตามยุทธศาสตร์ของมหาลัย

สิ่งต้องปรับปรุงเร่งด่วน (ถ้ามี)
บทสัมภาษณ์

ศิษย์เก่า
หลักสูตรจะเน้นการสอนเกี่ยวกับความรู้และพระพุทธศาสนาควบคู่ไปด้วยกัน
หลักสูตรฝึกให้นักศึกษามีความพร้อมในการเป็นครูตั้งแต่ปีหนึ่ง
        - จากที่ดินมามีส่วนใดที่จะไปเพิ่มเติมให้กับนักศึกษาในการสอบเข้าได้บ้าง
        ทางหลักสูตรให้ความสนใจทางด้านการสอบบรรจุอย่างเต็มที่ทั้งความรู้ในด้านวิชาเอกและวิชาเสริม
        - สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้นักศึกษาอยากให้หลักสูตรมีการเพิ่มเติมในด้านใด
       -หลักสูตรควรมีการปรับปรุงสิ่งใด
หลักสูตร ควรมีการปรับปรุงในด้านเทคโนโลยีและฟังชั่นการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และการสอดเกณฑ์ภาษาอังกฤษควรมีการเพิ่มเติมให้นักศึกษา
     นักศึกษาปัจจุบัน
        - เนื้อหาในรายวิชาที่ศึกษาอยู่เหมาะสมแล้วหรือไม่หรือควรปรับปรุงในจุดใด
        อยากให้ลีกผู้สอนเพิ่มความเข้มข้นในเนื้อหาอย่างเช่นเรื่องจิตวิทยาควรเพิ่มความเข้มข้นในหลักสูตรให้มากขึ้น
        อยากให้หลักสูตรเพิ่มเกี่ยวกับโครงการและกิจกรรมด้านภาษาอังกฤษให้มากขึ้น

 สิ่งอำนวยความสะดวก
        -บางห้องยังมีอุปกรณ์สิ่งอำนวยความสะดวกไม่สมบูรณ์แต่ภาพรวมก็มีความสมบูรณ์และอยากให้ระบบอินเตอร์เน็ตมีความเสถียรมากขึ้น
         หลักสูตรมีการจัดอบรมเกี่ยวกับหลักสูตรอื่นและมีการเชิญวิทยากรภายนอกให้กับนักศึกษาในการสอบโทอีกโทเฟล
          ในรายวิชาการพูดการฟังภาษาอังกฤษหลักสูตรควรฝึกให้นักศึกษาใช้ภาษาอังกฤษทั้งคาบเรียน

ผู้ปกครอง
ผู้ปกครองอยากให้หลักสูตรมีการช่วยเหลือในด้านใด
         - ในส่วนของการเดินทางยังมีปัญหาเนื่องจากว่าการเดินทางไม่สะดวกและการออกค่ายของนักศึกษาควรอำนวยความสะดวกให้มากกว่านี้

ภาพถ่าย