Logo

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร (ย่อย) ปีการศึกษา 2565


บทสรุปผู้บริหาร

จากผลการดำเนินงานของหลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย หลักสูตรใหม่ (พ.ศ. 2564) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน ซึ่งเป็นสถาบันเฉพาะทางที่เน้นระดับบัณฑิศึกษา ได้คะแนนการประเมินตนเอง 3.99  มีระดับคุณภาพดี โดยมีรายละเอียดผลการดำเนินงานทั้ง องค์ประกอบ ดังนี้

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย หลักสูตรใหม่ (พ.ศ. 2564) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มีผลการบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ในองค์ประกอบที่ นี้ คือ ผ่าน

องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย หลักสูตรใหม่ (พ.ศ. 2564) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน การผลิตบัณฑิตหรือการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความรู้ในวิชาและอาชีพ มีคุณลักษณะตามหลักสูตรที่กำหนด บัณฑิตระดับอุดมศึกษาจะต้องเป็นผู้มีความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม มีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 3.80   ในระดับ ดี

องค์ประกอบที่ นักศึกษา หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย หลักสูตรใหม่ (พ.ศ. 2564) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน นักศึกษา ระบบการประกันคุณภาพนักศึกษา ต้องให้ความสำคัญกับการรับหรือคัดเลือกนักศึกษาและการส่งเสริมพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ความพร้อมทางการเรียน เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ นี้เท่ากับ 3.33   ระดับดี

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย หลักสูตรใหม่ (พ.ศ. 2564) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มีการบริหารและพัฒนาอาจารย์ คุณภาพอาจารย์และผลลัพธ์ที่เกิดกับอาจารย์ ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ นี้เท่ากับ 4.11  ดีมาก

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย หลักสูตรใหม่ (พ.ศ. 2564) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มีการกำกับการบริหารจัดการหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างต่อเนื่องผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ นี้เท่ากับ 4.40 ดีมาก

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย หลักสูตรใหม่ (พ.ศ. 2564) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสานมีการสนับสนุนให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ผลการดำเนินการ องค์ที่6 เท่ากับ 4.00 ดี

บทนำ

1.1 ชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

1) ชื่อหลักสูตร

2) ชื่อปริญญา

3) สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์

1.2 คณะต้นสังกัดและสถานที่เปิดสอน

1) คณะต้นสังกัด วิทยาเขตอีสาน

2) สถานที่เปิดสอน

1.3 ปรัชญาความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1) ปรัชญาของหลักสูตร

2) ความสำคัญของหลักสูตร

3) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1.4 รหัสหลักสูตร

สรุปผลการประเมิน
ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพระดับหลักสูตร
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

เกณฑ์การประเมิน ผลการดำเนินการ
1. จํานวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่น้อยกว่า 5 คนและเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ผ่าน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (วิชาการ) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์และ มีผลงานทางวิชาการ 1 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง
ผ่าน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน และ มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปี ย้อนหลัง ไม่จำกัดจำนวนและประจำได้มากกว่าหนึ่งหลักสูตร
ผ่าน
4. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กันหรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน อาจารย์พิเศษมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์ในการสอนไม่น้อยกว่า 6 ปี
ผ่าน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด มีการปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด ต้องไม่เกิน 5 ปี ตามรอบระยะเวลาของหลักสูตร หรืออย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี
ผ่าน
สรุปผลการประเมิน ผ่าน

ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย คะแนนประเมินจากคณะกรรมการ
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
5
4.41
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
5
5.00
2.3 บัณฑิตปริญญาตรีมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์สอบผ่านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
2
2
2.4 บัณฑิตมีคุณลักษณะทางคุณธรรม
ไม่รับการประเมิน
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
3.80
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.1 การรับนักศึกษา
5
3
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
5
4
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา
5
3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.33
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์
5
4
4.2 คุณภาพอาจารย์
5
4.44
4.3 ผลที่เกิดขึ้นกับ อาจารย์
5
3
4.4 ความเชี่ยวชาญของบุคลากรด้านศาสนาหรือการพัฒนาคุณธรรม
2
5
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
4.11
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
5.1 สาระของรายวิชาใน หลักสูตร
5
4
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
5
4
5.3 การประเมินผู้เรียน
5
4
5.4 ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
5
5
5.5 สัดส่วนหน่วยกิตของวิชาที่มุ่งเน้นการศึกษาหลักศาสนา หรือ นำหลักศาสนามาบูรณาการ
2
5
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
4.40
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
5
4
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
4.00
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (16 ตัวบ่งชี้)
3.99
ตารางวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาในระดับหลักสูตรปีการศึกษา 2565
องค์ประกอบที่ คะแนนผ่าน จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย
2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี
4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 Logo 3 - 2.00 4.71 3.80 ดี
3 3 3.33 - - 3.33 ดี
4 4 4.11 - - 4.11 ดีมาก
5 5 4.00 4.50 - 4.40 ดีมาก
6 1 - 4.00 - 4.00 ดี
รวม 16 3.81 4.00 4.71 3.99 ดี
ผลการประเมิน ดี ดี ดีมาก ดี ดี
จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน
-
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต

ขอให้หลักสูตรเตรียมการในเกณฑ์ภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีให้กับนักศึกษาเพื่อเตรียมรับกับการเปลี่ยนแปลงที่สมบูรณ์มากขึ้น

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

จุดเด่น

หลักสูตรมีกระบวนการรับนักศึกษาที่เป็นระบบ การพัฒนานักศึกษาได้จัดให้มีกิจกรรมโครงการที่หลายหลาย

 

ข้อเสนอแนะ

หลักสูตรควรมีการแสวงหาเครื่อข่ายทั้งวิชาชีพเพื่อมีส่วนร่วมประชาสัมพันธ์ในหลักสุตรและเอกชน เพื่อเปิดรับผู้ที่สนใจเข้าศึกษา และรับนักให้กับนักศึกษาที่เข้าปฏิบัติงาน เพื่อชักชวนกับผู้ที่สนใจเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรมากขึ้น

การประชาสัมพันธ์ในการรับนักศึกษาควรประชาสัมพันธ์ให้เห็นจุดเด่นอัตลักษณ์ของหลักสูตรอย่างชัดเจน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

จุดเด่น

หลักสูตรมีการดำเนินการเรื่องของอาจารย์ประจำหลักสูตรได้สมบูรณ์ ทั้งคุณวุฒิ ป.เอก ตำแหน่งทางวิชาการ และผลงานวิจัย มีการดำเนินงานทุกด้านพร้อมเอกสารหลักฐานครบตามเกณฑ์

ข้อเสนอแนะ

ส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายทางด้านวิชาการเพื่อประโยชน์การสัมพันธ์ หลักสูตร

 

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

จุดเด่นของหลักสูตร

หลักสูตรมีการเตรียมการดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรก่อนถึงรอบระยะเวลาเพื่อให้หลักสูตรมีความสมบูรณ์อย่างชัดเจน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
-
สิ่งต้องปรับปรุงเร่งด่วน (ถ้ามี)
บทสัมภาษณ์

ศิษย์เก่า
องค์ความรู้ที่ท่านได้รับจากหลักสูตรเพียงพอต่อการปฎิบัติงานหรือไม่
-การทำงานและความรู้ที่ได้รับจากหลักสูตร ได้นำมาปฏิบัติใช้อย่างเต็มศักยภาพจากการศึกษา
-องค์ความรู้ที่ได้รับเพียงพอเนื่องจากมีการฝึกปฏิบัติงานตามฝึกสามารถนำมาใช้อย่างเต็มศักยภาพเพราะได้มีการลงพื้นที่และประเมินสภาพแวดล้อมในชุมชนด้วย

การประยุกต์ใช้หลักธรรมสำคัญกับการปฎิบัติงานอย่างไรหรือไม่
-สามารถนำหลักธรรมมาใช้ในการปรับตัวต่อการทำงานโดยได้ธรรมะและแนวทางการปฎิบัติงาน
-ทำให้การอยู่ร่วมกันกับเพื่อนที่ทำงานมีสัมพันธภาพที่ดีร่วมกัน
-ในการใช้สังฆวัตถุ 4 นั้นนำมาใช้ได้อย่างเต็มที่ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการใช้วาจาและการเสียสละ

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมให้หลักสูตรในการพัฒนา
-อยากให้ทางหลักสูตรมีเครือข่ายเกี่ยวกับชุมชนต่างๆให้มากขึ้น
-อยากให้หลักสูตรมีการเปิดสถานที่ฝึกงานที่หลากหลายให้กับนักศึกษามากขึ้น

ศิษย์ปัจจุบัน
เหตุผลใดนักศึกษาจึงเลือกเรียนสาขาสังคมสงเคราะห์ของวิทยาเขตอีสาน
-คาดหวังเรื่องค่าใช้จ่ายการศึกษาที่เหมาะสม
ได้รับการประชาสัมพันธ์จากที่ใด
-ได้รับการประชาสัมพันธ์จากรุ่นพี่

ทางคณาจารย์ให้การดูแลและให้การช่วยเหลือเป็นอย่างไร
-อาจารย์ให้คำแนะนำและให้การปรึกษาได้ดีในทุกเรื่อง รวมถึงเรื่องเงินทุนในการศึกษาทางมหาลัยมีการให้คำแนะนำเป็นอย่างดี

หลักสูตรมีการบูรณาการ กับพระพุทธศาสนา มีวิธีการอย่างไรบ้าง
-มีอาจารย์ในส่วนของที่เป็นพระอาจารย์สามารถให้คำแนะนำและคำสั่งสอนในเรื่องของหลักธรรม และใจรักทำในการฝึกปฏิบัติงาน และนำมาเสนอต่ออาจารย์

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมให้กับนักศึกษาอยากให้ หลักสูตรเพิ่มเติม เสนอแนะในด้านใด
- อยากให้คณาจารย์ในหลักสูตรมีการส่งเสริมในเรื่องขององค์ความรู้ 5 ขั้นตอนในการฝึกปฏิบัติงานให้แก่นักศึกษาให้มีความสำนานมากขึ้น
-อยากให้มีการนำเทคโนโลยีหรือสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัยมาส่งเสริมให้แก่นักศึกษา หรือมีการสอดแทรกกิจกรรมเพิ่มในหลักสูตร

ภาพถ่าย