Logo

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร (ย่อย) ปีการศึกษา 2564

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2563)


บทสรุปผู้บริหาร

จากผลการดำเนินงานของสาขาวิชาพุทธศาสเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง ปีการศึกษา 2564 ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่อยู่ในกลุ่ม ค2 (สถาบันเฉพาะทางที่เน้นระดับปริญญาตรี)ได้คะแนนการประเมินตนเอง 3.74  มีระดับคุณภาพ ดี โดยมีรายละเอียดผลการดำเนินงานทั้ง 6 องค์ประกอบ ดังนี้

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน หลักสูตรศึกษาสาขาวิชาพุทธศาสเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง มีผลการบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ในองค์ประกอบที่ 1 นี้ คือ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต  สาขาวิชาสาขาวิชาพุทธศาสเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง การผลิตบัณฑิตหรือการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความรู้ในวิชาและอาชีพ มีคุณลักษณะตามหลักสูตรที่กำหนด บัณฑิตระดับอุดมศึกษาจะต้องเป็นผู้มีความรู้ มีคุณธรรม จริธรรม มีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 2 นี้เท่ากับ 4.65 ระดับดีมาก

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา สาขาวิชาพุทธศาสเพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ต้องให้ความสำคัญ กับการรับหรือคัดเลือกนักศึกษา และการส่งเสริมพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ความพร้อมทางการเรียน เพื่อให้นักศึกษา มีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผลการประเมินตนเองใจองค์ประกอบที่ 3 นี้เท่ากับ 3.00 อยู่ในระดับปานกลาง

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ สาขาวิชาพุทธศาสเพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง มีการบริหารและพัฒนาอาจารย์ คุณภาพอาจารย์และผลลัพธ์ที่เกิดกับอาจารย์ ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 4 นี้เท่ากับ 3.44 อยู่ในระดับคุณภาพดี

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน สาขาวิชาพุทธศาสเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง มีการกำกับการบริหารหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 5 นี้เท่ากับ 4.00 อยู่ในระดับคุณภาพดี

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ สาขาวิชาพุทธศาสเพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง มีการสนับสนุนให้นักศึกษา สามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 6 นี้เท่ากับ 4.00 อยู่ในระดับคุณภาพดี

บทนำ

1.1 ชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

1) ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2563)

2) ชื่อปริญญา ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา) ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (พุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา)

3) สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา

1.2 คณะต้นสังกัดและสถานที่เปิดสอน

1) คณะต้นสังกัด วิทยาเขตศรีล้านช้าง

2) สถานที่เปิดสอน

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง

1.3 ปรัชญาความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1) ปรัชญาของหลักสูตร

        ผลิตบัณฑิตให้รอบรู้พุทธศาสตร์ พัฒนาชาติและสังคม บ่มเพาะวัฒนธรรม น้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจ พัฒนาชีวิตแบบพอเพียง สร้างสรรค์นวัตกรรมวิชาการ ทำงานอย่างมีความสุข มั่นคงและยั่งยืน

2) ความสำคัญของหลักสูตร

     พัฒนาและอบรมความรู้รวมทั้งสร้างบัณฑิตด้านพุทธศาสตร์ในมิติการบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมและพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพ

3) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้

     1.3.1 เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ ความสามารถในการวางแผนพัฒนาตน พัฒนาคน พัฒนางาน ในองค์กรด้วยการประยุกต์ใช้หลักพุทธศาสตร์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

     1.3.2 เพื่อให้บัณฑิตมีความคิดวิเคราะห์ ริเริ่มสร้างสรรค์ และมีภาวะผู้นำในการนำความรู้ไปบูรณาการกับการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองตามแนวพุทธศาสตร์

     1.3.3 เพื่อให้บัณฑิตมีทักษะในการวิจัย พัฒนาองค์ความรู้ และสร้างนวัตกรรมที่เหมาะสมในศตวรรษที่ 21 ด้วยการประยุกต์ใช้หลักพุทธศาสตร์

1.4 รหัสหลักสูตร

สรุปผลการประเมิน
ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพระดับหลักสูตร
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2563)
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง
ปีการศึกษา 2564

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

เกณฑ์การประเมิน ผลการดำเนินการ
1. จํานวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่น้อยกว่า 5 คนและเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ผ่าน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (วิชาการ) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์และ มีผลงานทางวิชาการ 1 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง
ผ่าน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน และ มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปี ย้อนหลัง ไม่จำกัดจำนวนและประจำได้มากกว่าหนึ่งหลักสูตร
ผ่าน
4. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กันหรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน อาจารย์พิเศษมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์ในการสอนไม่น้อยกว่า 6 ปี
ผ่าน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด มีการปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด ต้องไม่เกิน 5 ปี ตามรอบระยะเวลาของหลักสูตร หรืออย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี
ผ่าน
สรุปผลการประเมิน ผ่าน

ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย คะแนนประเมินจากคณะกรรมการ
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
5
4.29
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
5
5.00
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
4.65
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.1 การรับนักศึกษา
5
3
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
5
3
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา
5
3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.00
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์
5
3
4.2 คุณภาพอาจารย์
5
3.33
4.3 ผลที่เกิดขึ้นกับ อาจารย์
5
4
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
3.44
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
5.1 สาระของรายวิชาใน หลักสูตร
5
4
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
5
4
5.3 การประเมินผู้เรียน
5
3
5.4 ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
5
5
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
4.00
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
5
4
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
4.00
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (13 ตัวบ่งชี้)
3.74
ตารางวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาในระดับหลักสูตรปีการศึกษา 2564
องค์ประกอบที่ คะแนนผ่าน จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย
2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี
4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 Logo 2 - - 4.65 4.65 ดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ปานกลาง
4 3 3.44 - - 3.44 ดี
5 4 4.00 4.00 - 4.00 ดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ดี
รวม 13 3.33 4.00 4.65 3.74 ดี
ผลการประเมิน ดี ดี ดีมาก ดี ดี
จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต

จุดเด่น

1.บัณฑิตและผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจต่อการบริหารหลักสูตรและบัณฑิตมีงานทำ อยู่ในระดับที่มาก

2.หลัหลักสูตรได้รับการปรับปรุงจากพุทธศาสตร์มาเป็นพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนามีความตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและสังคม

การวางระบบผู้สอนตรงตามสาย

มีการบริหารตรงกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

1.การคงอยู่การคงอยู่ของนักศึกษาไม่ไม่เป็นแนวโน้มที่ดีซึ่งมีผลกระทบต่อการสำเร็จการศึกษา

2.ควรมีกระบวนการที่ให้นักศึกษาอยู่ตลอดหลักสูตรควรหาวิธีแก้ไขที่ชัดเจนเพื่อให้นักศึกษาคงอยู่ตลอดหลักสูตร

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

จุดเด่น

1.อาจารย์มีความตั้งใจในการถ่ายทอดสาระในรายวิชาได้อย่างดี และมีความเป็นกัลนิมิตรกับนักศึกษา

สิ่งที่ควรพัฒนา

 

1.ควรจัดทำแผนว่าพัฒนาตนเองสำหรับหลักสุตรเพื่อเป็นการเตรียมการของหลักสูตรให้หลักสูตรมีประสิทธิภาพ

2..ควรส่งควรส่งเสริมสนับสนุนคณาจารย์ให้มีความรู้ความสามารถและทักษะการใช้ไอทีของอาจารย์เพื่อมีประสิทธิภาพต่อการเรียนการสอนแก่นักศึกษาพร้พร้อมกับของอาจารย์

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

ควรหาอาจารย์ที่จบทางด้านสังคมพัฒนาหรือการพัฒนาสังคมเขามาร่วมทำการเรียนการสอนซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้หลักสูตรมีประสิทธิภาพมากขึ้น

 

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

จุดที่ควรพัฒนา

1.ควรมีการปรับปรุงพัฒนาระบบไอทีให้มีความทันสมัยและรวดเร็วตามสถานการณ์ปัจจุบันเพื่อให้มีประสิทธิภาพในการเรียนการสอนให้กับนักศึกษา

 

 

สิ่งต้องปรับปรุงเร่งด่วน (ถ้ามี)

จุดเด่น

1.บัณฑิตและผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจต่อการบริหารหลักสูตรและบัณฑิตมีงานทำ อยู่ในระดับที่มาก

2.หลัหลักสูตรได้รับการปรับโป่งจากพุทธศาสตร์มาเป็นพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนามีความตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและสังคม

การวังการวางระบบผู้สอนมีการตรงสาย

มีมีการบริหารตรงกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ

3.อาจารย์มีความตั้งใจในการถ่ายทอดสาระในรายวิชาได้อย่างดี และมีความเป็นกัลนิมิตรกับนักศึกษา

องค์องค์ประกอบที่6 

1.สามารถบริหารการจัดการหลักสูตรออนไลน์ได้เป็นอย่างดี

2.ทำให้ทำให้นักศึกษามีการจบได้ตามหลักสูตรและจบตามปกติไม่เป็นอุปสรรคต่อการเรียนการสอนทำให้ทำให้เข้าถึงต่อนักศึกษาได้เลยประสิทธิภาพ

จุดที่ควรพัฒนา

นักศึกษา

1.รัหลักสูตรควรบริหารจัดการให้นักศึกษามีการเรียนได้ตลอดภาคการศึกษา

2.ควรมีกระบวนการที่ให้นักศึกษาอยู่ตลอดหลักสูตรควรหาวิธีแก้ไขที่ชัดเจนเพื่อให้นักศึกษาคงอยู่ตลอดหลักสูตร

3.ควรส่งควรส่งเสริมสนับสนุนคณาจารย์ให้มีความรู้ความสามารถและทักษะการใช้ไอทีของอาจารย์เพื่อมีประสิทธิภาพต่อการเรียนการสอนแก่นักศึกษาพร้พร้อมกับของอาจารย์

4.การคงอยู่การคงอยู่ของนักศึกษาไม่ไม่เป็นแนวโน้มที่ดีซึ่งมีผลกระทบต่อการสำเร็จการศึกษา

บทสัมภาษณ์

สาขาวิชาพุทธศาสเพื่อการพัฒนา 
พระปฏิภาณ นักศึกษาปีที่ 2
สิ่งอำนวยความสะดวกของหลักสูตรมีอะไรที่ดีและอยากให้ปรับปรุงเพิ่มเติม
1.ทางด้านอาจารย์ให้การช่วยเหลือในเรื่องของเอกสารต่างๆในการเรียนทำให้ไม่เกิดปัญหาในการศึกษาออนไลน์
2.จากการที่ได้เรียนหลักสูตรเพื่อการพัฒนาทำให้มีความรู้เพิ่มมากขึ้นในระดับหนึ่งจากที่ไม่มีความรู้อะไรเลย
สิ่งที่ควรแก้ไขในสถานศึกษาแห่งนี้
1.ในการเรียนออนไลน์เป็นปัญหาคือการที่ไม่ได้โต้ตอบซึ่งกันและกันกับอาจารย์ทำให้เป็นปัญหาในการออนไลน์ อยากให้ครูผู้สอนมีการโต้ตอบสนทนากับเด็กให้มากขึ้น

พระอัตพล นักศึกษาปี 3
มีความคิดเห็นอย่างไรในการเรียนหลักสูตรพุทธศาสเพื่อการพัฒนากับศาสนา
1.สามารถนำเนื้อหาข้อมูลต่างๆในรายวิชามาพัฒนาตนเองและศาสนา
มีอาจารย์ท่านใดที่เป็นแรงบันดาลใจให้กับเรา
2.ทุกๆท่านให้การช่วยเหลืออย่างดีทุกท่านในทุกๆเรื่อง ขอบคุณพระมหาวิเชียร และพระครูปริยัติสาธร
อยากให้มหาลัยเพิ่มเติมเรื่องอะไรบ้าง
3.อยากให้การส่งเสริมด้านไอทีให้กับนักศึกษา
บางครั้งอุปกรณ์ของอาจารย์วันนี้ประสิทธิภาพให้มากขึ้นเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการศึกษา

ภาพถ่าย