Logo

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร (ย่อย) ปีการศึกษา 2564

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร หลักสูตรใหม่ (พ.ศ. 2561)


บทสรุปผู้บริหาร

รายงานการประเมินตนเองฉบับนี้  เป็นการรายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัยในพระสังฆราชูปถัมภ์ ปีการศึกษา 2564 (1 มิถุนายน 2564 – 1 กรกฎาคม 2565) เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรโดยผลการประเมินสามารถสรุปได้ดังนี้

 

ผลการตรวจประเมินตนเองตามองค์ประกอบคุณภาพ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร หลักสูตรใหม่ (พ.ศ. 2561)
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย ในพระสังฆราชูปถัมภ์
ปีการศึกษา 2564
องค์ประกอบที่ คะแนนผ่าน จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย
2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี
4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 Logo 0 - - - - -
3 3 3.67 - - 3.67 ดี
4 3 2.56 - - 2.56 ปานกลาง
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ปานกลาง
รวม 11 3.10 3.50 - 3.24 ดี
ผลการประเมิน ดี ดี - ดี ดี
บทนำ

1.1 ชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

1) ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร หลักสูตรใหม่ (พ.ศ. 2561)

2) ชื่อปริญญา ศศ.บ. ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร)

3) สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

1.2 คณะต้นสังกัดและสถานที่เปิดสอน

1) คณะต้นสังกัด มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย ในพระสังฆราชูปถัมภ์

2) สถานที่เปิดสอน

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย ในพระสังฆราชูปถัมภ์

1.3 ปรัชญาความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1) ปรัชญาของหลักสูตร

ผลิตบัณฑิตที่มีความรอบรู้ทางด้านภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยสามารถบูรณาการ พระพุทธศาสนาเพื่อความเป็นเลิศในวิชาการ และเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีลธรรม คุณธรรมจริยธรรม

2) ความสำคัญของหลักสูตร

(1) เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของสังคมและให้มีความเหมาะสมต่อบริบทการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารที่ต้องการผลิตบัณฑิตเข้าสู่ระดับนานาชาติ

(2) เปิดตามผลการสำรวจความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต

(3) เพื่อให้ได้หลักสูตรที่ทันสมัยและเน้นไปเฉพาะทางด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ

(4) ตอบสนองต่อนโยบายการเปิดการค้าเสรีอาเซียน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล

(5) เพื่อให้เหมาะสมกับตลาดแรงงานทั้งในไทยและระดับภูมิภาคอาเซียน

3) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

(1) เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ใน การเผยแผพระพุทธศาสนา เชน ศาสนพิธี ประเพณีและศิลปวัฒนธรรมของไทยทั้งในและต่างประเทศ
(2) เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู ความสามารถในการนำความรู้ด้านภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสาร ไปใชประกอบอาชีพทั้งภาครัฐและเอกชนไดอยางมีประสิทธิภาพ

(3) เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ มีศีลธรรม คุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบและสามารถรับใชสังคมได้

1.4 รหัสหลักสูตร 25611861100038

สรุปผลการประเมิน
ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพระดับหลักสูตร
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร หลักสูตรใหม่ (พ.ศ. 2561)
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย ในพระสังฆราชูปถัมภ์
ปีการศึกษา 2564

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

เกณฑ์การประเมิน ผลการดำเนินการ
1. จํานวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่น้อยกว่า 5 คนและเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ผ่าน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (วิชาการ) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์และ มีผลงานทางวิชาการ 1 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง
ผ่าน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน และ มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปี ย้อนหลัง ไม่จำกัดจำนวนและประจำได้มากกว่าหนึ่งหลักสูตร
ผ่าน
4. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กันหรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน อาจารย์พิเศษมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์ในการสอนไม่น้อยกว่า 6 ปี
ผ่าน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด มีการปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด ต้องไม่เกิน 5 ปี ตามรอบระยะเวลาของหลักสูตร หรืออย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี
ผ่าน
สรุปผลการประเมิน ผ่าน

ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย คะแนนประเมินจากคณะกรรมการ
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
ไม่รับการประเมิน
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
ไม่รับการประเมิน
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
0.00
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.1 การรับนักศึกษา
5
4
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
5
4
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา
5
3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.67
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์
5
3
4.2 คุณภาพอาจารย์
5
1.67
4.3 ผลที่เกิดขึ้นกับ อาจารย์
5
3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
2.56
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
5.1 สาระของรายวิชาใน หลักสูตร
5
3
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
5
3
5.3 การประเมินผู้เรียน
5
3
5.4 ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
5
5
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
3.50
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
5
3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
3.00
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (11 ตัวบ่งชี้)
3.24
ตารางวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาในระดับหลักสูตรปีการศึกษา 2564
องค์ประกอบที่ คะแนนผ่าน จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย
2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี
4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 Logo 0 - - - - -
3 3 3.67 - - 3.67 ดี
4 3 2.56 - - 2.56 ปานกลาง
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ปานกลาง
รวม 11 3.10 3.50 - 3.24 ดี
ผลการประเมิน ดี ดี - ดี ดี
จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

ควรมีการประเมินการเตรียมความพร้อมตามวัตถุประสงค์ของโครงการ เช่น การวัดความรู้ การสังเกตุ การสัมภาษณ์ เป็นต้น เเละเสริมด้วยการประเมินความพึงพอใจ

ควรมีการรายงานการให้คำปรึกษา หรือเเก้ไขปัญหาต่างๆของนักศึกษา เพื่อให้เห็นผลการดำเนินงานที่ชัดเจน เช่น ทางหลักสูตรควรมีนักจิตวิทยา หรือห้องให้คำปรึกษาเพื่อลดความเครียดของนักศึกษา

ควรตั้งเป้าหมายเชิคุณภาพที่ชัดเจน ได้เเก่ ได้ความรู้ ได้การฝึก เป็นต้น 

ควรมีการรายงานผลของการเขียนโครงการ/กิจกรรมที่เพิ่มทักษะ นักศึกษาได้ผลลัพธ์อย่างไร พัฒนาด้านใด ควรมีการรายงานเป็นตาราง เเละบรรยายกระบวนการPDCA

การประเมินผลโครงการพัฒนานักศึกษาทักษะในสตวรรษที่21 ควรมีการประเมินเเบบRubik เพื่อให้เห็นถึงLevel การพัฒนาที่ชัดเจน 

หลักสูตรควรมีการสำรวจสาเหตุการออกกลางคันของนักศึกษา เพื่อหาเเนวทางในการรักษาจำนวนอัตรคงอยู่ของนักศึกษา

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

ควรมีเเผนการรับอาจารย์ใหม่ ระบบเเละกลไกการเเต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ตามPDCA

ควรมีการรายงาน IDP ของอาจารย์เเต่ละท่าน เเละมีการประเมินผลตามตัวบ่งชี้

ควรมีการรายงานภาระงานที่ต้องรับผิอชอบของอาจารย์ในรูปเเบบของตาราง เช่น งานสอน งานวิจัย งานบริการวิชาการ งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม เป้นต้น

ควรมีการสนับสนุนอาจารย์ในการเข้าสู่ตำเเหน่งทางวิชาการ เเละมีการสนับสนุนงบประมานในการทำผลงานทางวิชาการ เเละควรมีการตีพิมพือยุ่ในฐานที่มีค่าคะเเนนสูง

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

หลักสูตรควรมี Flowchart เเสดงระบบเเละกลไกการปรับหลักสูตรอย่างชัดเจน เเละควรมีการบรรยายผลการดำเนินงานในการปรับปรุงหลักสูตรตามผลการดำเนินงานจริงว่าตอนนี้หลักสูตรกำลังดำเนินการอยู่ในขั้นตอนใด

 

หลักสูตรควรมีการรายงานมีการปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน

หลักสูตรควรมีการรายงานตารางเปรียบเทียบการปรับปรุงหลักสูตร มีการปรับเปลี่ยนรายวิชาอย่างไร

หลักสูตรควรมีการรายงานผลการสำรวจความพึงพอใจด้านการเรียนการสอนของนักศึกษา เเละเเสดงให้เห็นถึงการปรับรายวิชาที่เหมาะกับความต้องการ เเละสถานการณ์ปัจจุบัน เเละเเผนการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรในอนาคต

ควรมีการประเมินผู้สอนในการวางระบบผู้สอน เพื่อให้ทราบถึงคุณภาพการสอนเเละระบบกลไกที่หลักสูตรจัดสรรผู้สอน

ควรมีการรายงานการเรียนการสอนที่มีการบูรณาการ เเละวรมีผลลัพธืที่นักศึกาานำมาประยุกต์ใช้ต่อยอดทางการศึกษาได้

หลักสูตรควรมีการนำผลการทวนสอบผลสัมฤทธ์ เเละการปัยหาจากการประเมินผลในรายวิชาต่างๆ มาปรับปรุงพัฒนาการวัด เเละการประเมินผลการเรียนของนักศึกษา

การประเมินผู้เรียน ควรมีรูปเเบบการประเมินในลากหลายวิธี เพื่อสะท้อนถึงผลลัพธ์การ้เรียนรู้ที่เเท้จริง

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

ควรนำผลการประเมินของผู้ใช้สิ่งสนันสนุนการเรียนรู้ มาปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดสรร เเก้ไขปัญหาด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

ควรมีการนำสิ่่งสนับสนุนการเรียนการสอนมาพัมนาคุณภาพของนักศึกษา เเละอาจารย์

หลักสูตรควรมีกระบวนการพัฒนา ระบบ Program, classroom online, text การสืบค้นต่างๆในระบบอิเล็กโทรนิก เป็นต้น

สิ่งต้องปรับปรุงเร่งด่วน (ถ้ามี)
บทสัมภาษณ์
ภาพถ่าย