Logo

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร (ย่อย) ปีการศึกษา 2562

หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์


บทสรุปผู้บริหาร
รายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตรศาสนศาสตร์บัณฑิต  สาขาวิชาพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย  วิทยาเขตศรีล้านช้างฉบับนี้  ได้ดำเนินการจัดทำรายงานข้อมูลเฉพาะปีการศึกษา 2562  โดยมีผลการประเมิน โดยภาพรวมอยู่ที่ 3.21  อยู่ในระดับดี และแบ่งการรายงานผลออกเป็นองค์ประกอบต่าง ๆ โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้
 
 
ผลการตรวจประเมินตนเองตามองค์ประกอบคุณภาพ
หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง
ปีการศึกษา 2562
องค์ประกอบที่ คะแนนผ่าน จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย
2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี
4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 Logo 0 - - - - -
3 3 2.67 - - 2.67 ปานกลาง
4 3 3.11 - - 3.11 ดี
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ดี
รวม 11 2.90 3.75 - 3.21 ดี
ผลการประเมิน ปานกลาง ดี - ดี ดี
บทนำ

1.1 ชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

1) ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์

2) ชื่อปริญญา ศน.บ. (พุทธศาสตร์)

3) สาขาวิชาพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา

1.2 คณะต้นสังกัดและสถานที่เปิดสอน

1) คณะต้นสังกัด วิทยาเขตศรีล้านช้าง

2) สถานที่เปิดสอน

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง

1.3 ปรัชญาความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1) ปรัชญาของหลักสูตร

     หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559) มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ดีทั้งทางโลกและทางธรรม มีความสามารถดีในการคิดเป็น พูดเป็น ทำเป็น มีคุณธรรมและจริยธรรมประจำกาย วาจา ใจ มีอุดมคติและมีอุดมการณ์ มุ่งอุทิศชีวิตบำเพ็ญประโยชน์ตนและประโยชน์ผู้อื่น เข้าใจโลกและชีวิตอย่างลึกซึ้ง หลักการและคำสอนในทางพุทธศาสนา เป็นวิชาการที่สำคัญในอันที่จะเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับชีวิตและความจริงของสรรพสิ่ง เพื่อทำให้บัณฑิตสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตและการอยู่รวมกันอย่างสันติสุขดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างราบรื่นและเป็นปกติสุข สอดคล้องกับปรัชญาของมหาวิทยาลัย คือ ความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนา

2) ความสำคัญของหลักสูตร

  พัฒนาและอบรมความรู้รวมทั้งสร้างบัณฑิตด้านพุทธศาสตร์ในมิติบูรณาการสู่การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ศาสนาและวัฒนธรรม

3) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้

                 1. เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้และความเข้าใจระบบพุทธศาสนา อันได้แก่ ศาสนา ปรัชญา การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ศิลปวัฒนธรรม ในบริบทที่เปลี่ยนแปลงสังคมโลกสมัยใหม่อย่างถูดกต้อง           

                 2. เพื่อให้บัณฑิตมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ริเริ่มสร้างสรรค์ เข้าใจสถานการณ์ ปัญหาสังคม อย่างชัดเจนรอบด้าน โดยใช้ความรู้ในสาขาวิชาพุทธศาสตร์ต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาในการทำงาน และสร้างความก้าวหน้าแก่ชีวิตในทิศทางที่ถูกต้อง

                 3. เพื่อให้บัณฑิตมีความคิดเปิดกว้างต่อโลกทัศน์ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างมีวิจารณาญาณ

                 4. เพื่อให้บัณฑิตนำเอาหลักการและวิธีการทางพุทธศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและมีความสามารถบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน โดยสอดคล้องกับสภาพสังคมปัจจุบัน

1.4 รหัสหลักสูตร 25491861110441

สรุปผลการประเมิน
ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพระดับหลักสูตร
หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง
ปีการศึกษา 2562

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

เกณฑ์การประเมิน ผลการดำเนินการ
1. จํานวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่น้อยกว่า 5 คนและเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ผ่าน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (วิชาการ) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์และ มีผลงานทางวิชาการ 1 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง
ผ่าน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน และ มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปี ย้อนหลัง ไม่จำกัดจำนวนและประจำได้มากกว่าหนึ่งหลักสูตร
ผ่าน
4. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กันหรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน อาจารย์พิเศษมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์ในการสอนไม่น้อยกว่า 6 ปี
ผ่าน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด มีการปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด ต้องไม่เกิน 5 ปี ตามรอบระยะเวลาของหลักสูตร หรืออย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี
ผ่าน
สรุปผลการประเมิน ผ่าน

ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย คะแนนประเมินจากคณะกรรมการ
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
ไม่รับการประเมิน
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
ไม่รับการประเมิน
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
0.00
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.1 การรับนักศึกษา
4
3
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
4
3
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา
4
2
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
2.67
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์
4
3
4.2 คุณภาพอาจารย์
5
3.33
4.3 ผลที่เกิดขึ้นกับ อาจารย์
4
3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
3.11
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
5.1 สาระของรายวิชาใน หลักสูตร
4
3
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
4
3
5.3 การประเมินผู้เรียน
4
3
5.4 ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
4
5
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
3.50
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
4
4
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
4.00
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (11 ตัวบ่งชี้)
3.21
ตารางวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาในระดับหลักสูตรปีการศึกษา 2562
องค์ประกอบที่ คะแนนผ่าน จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย
2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี
4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 Logo 0 - - - - -
3 3 2.67 - - 2.67 ปานกลาง
4 3 3.11 - - 3.11 ดี
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ดี
รวม 11 2.90 3.75 - 3.21 ดี
ผลการประเมิน ปานกลาง ดี - ดี ดี
จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
-
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

1.ควรมีกระบวนการสร้างแรงจูงใจและกระตุ้นนักศึกษาให้สําเร็จการศึกษาตามกรอบระยะเวลาของหลักสูตรเพื่อรักษาอัตราคงอยู่ในหลักสูตร

2.ควรแนะนํานักศึกษาวางแผนการเข้าเรียนตลอดหลักสูตรให้เปนขั้นตอน

3. ปรับกระบวนการรับนักศึกษาโดยการสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มาเรียน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

1.พัฒนาอาจารย์ให้มีตําแหน่งทางวิชาการใหเ้ป็นไปตามเกณฑ์

2. ส่งเสริมอาจารย์ตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการในฐาน (TCI) ที่สูงขึ้น

 

 

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

1.ควรปรับการเขียนรายงานการประเมินตนเอง (sar) ให้สะท้อนถึง(PDCA) ให้ชัดเจนขึ้น

2.ควรบูรณาการการเรียนการสอนให้ครบ 3 ด้าน พร้อมนำผลลัพธ์มาพัฒนาปรับกระบวนการจัดการเรียนการสอน

3.ควรปรับวิธีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์เพื่อให้สะท้อนถึงผลการเรียนการสอนโดยให้มีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
-
สิ่งต้องปรับปรุงเร่งด่วน (ถ้ามี)
บทสัมภาษณ์
ภาพถ่าย