Logo

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร (ย่อย) ปีการศึกษา 2562

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย


บทสรุปผู้บริหาร

จากผลการดำเนินงานของหหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย  ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่อยู่ในกลุ่ม ค 2 (สถาบันเฉพาะทางที่เน้นระดับปริญญาตรี) ได้คะแนนการประเมินตนเอง  2.62  มีคุณภาพอยู่ใน ระดับคุณภาพปานกลาง โดยมีรายละเอียดผลการดำเนินงานทั้ง 6 องค์ประกอบ ดังนี้

          องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีผลการบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ในองค์ประกอบที่ 1 นี้ คือ ผ่าน

          องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต  ไม่รับการประเมิน 

          องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ระบบการประกันคุณภาพนักศึกษา ต้องให้ความสำคัญกับการรับหรือคัดเลือกนักศึกษาและการส่งเสริมพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ความพร้อมทางการเรียน เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 3 นี้เท่ากับ 2.00 ระดับคุณภาพน้อย

          องค์ประกอบที่ 4  อาจารย์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย  มีการบริหารและพัฒนาอาจารย์ คุณภาพอาจารย์และผลลัพธ์ที่เกิดกับอาจารย์ ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 4 นี้เท่ากับ 1.78 ระดับคุณภาพน้อย

          องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย  มีการกำกับการบริหารจัดการหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง  ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 5 นี้เท่ากับ 4.00 ระดับคุณภาพดี

          องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย  มีการสนับสนุนให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 6 นี้เท่ากับ 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง

บทนำ

1.1 ชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

1) ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย

2) ชื่อปริญญา ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย)

3) สาขาวิชาภาษาไทย

1.2 คณะต้นสังกัดและสถานที่เปิดสอน

1) คณะต้นสังกัด คณะมนุษยศาสตร์

2) สถานที่เปิดสอน

                    คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม

1.3 ปรัชญาความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1) ปรัชญาของหลักสูตร

                    มุ่งสร้างบัณฑิตที่มีความรู้ทางด้านภาษาไทยให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนา

2) ความสำคัญของหลักสูตร

                    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย  มีความสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในเรื่องของการสื่อสารเพื่อความเข้าใจมนุษย์ สังคม พระพุทธศาสนาและวัฒนธรรม ให้สามารถรับมือกับสภาวการณ์ปัจจุบันได้ และตอบสนองความต้องการในด้านการพัฒนาการทางภาษา ในการประกอบอาชีพ และแก้ปัญหาความขาดแคลนของบุคลากรในวิชาชีพที่ใช้ภาษาไทยเป็นเครื่องมือ เพื่อตอบสนองความต้องการของสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านการศึกษา เศรษฐกิจวัฒนธรรม และการเผยแผ่พระพุทธศาสนา

3) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

                    1) เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในภาษาไทย พระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมไทยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

                    2) เพื่อให้มีทักษะการสื่อสารภาษาไทยเพื่อประกอบอาชีพในหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และอาชีพอิสระได้

                    3) เพื่อให้มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ มีจิตสาธารณะ ภูมิใจในความเป็นไทย และมีเจตคติที่ดีต่อประเทศไทย

                    4) เพื่อให้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสามารถประยุกต์ใช้ภาษาไทยได้อย่างสร้างสรรค์ ทันสมัย

                    5) เพื่อให้มีความสามารถในการเป็นผู้นำ มีโลกทัศน์กว้างไกลและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

                    6) เพื่อให้มีความสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้า นำเสนอ และเผยแพร่ข้อมูล ด้วยภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ

1.4 รหัสหลักสูตร 25621861100069

สรุปผลการประเมิน
ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพระดับหลักสูตร
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
คณะมนุษยศาสตร์
ปีการศึกษา 2562

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

เกณฑ์การประเมิน ผลการดำเนินการ
1. จํานวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่น้อยกว่า 5 คนและเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ผ่าน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (วิชาการ) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์และ มีผลงานทางวิชาการ 1 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง
ผ่าน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน และ มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปี ย้อนหลัง ไม่จำกัดจำนวนและประจำได้มากกว่าหนึ่งหลักสูตร
ผ่าน
4. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กันหรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน อาจารย์พิเศษมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์ในการสอนไม่น้อยกว่า 6 ปี
ผ่าน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด มีการปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด ต้องไม่เกิน 5 ปี ตามรอบระยะเวลาของหลักสูตร หรืออย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี
ผ่าน
สรุปผลการประเมิน ผ่าน

ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย คะแนนประเมินจากคณะกรรมการ
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
ไม่รับการประเมิน
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
ไม่รับการประเมิน
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
0.00
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.1 การรับนักศึกษา
4
2
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
ไม่รับการประเมิน
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา
ไม่รับการประเมิน
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
2.00
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์
4
2
4.2 คุณภาพอาจารย์
5
1.33
4.3 ผลที่เกิดขึ้นกับ อาจารย์
4
2
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
1.78
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
5.1 สาระของรายวิชาใน หลักสูตร
4
3
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
ไม่รับการประเมิน
5.3 การประเมินผู้เรียน
ไม่รับการประเมิน
5.4 ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
4
5
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
4.00
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
4
3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
3.00
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (7 ตัวบ่งชี้)
2.62
ตารางวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาในระดับหลักสูตรปีการศึกษา 2562
องค์ประกอบที่ คะแนนผ่าน จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย
2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี
4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 Logo 0 - - - - -
3 1 2.00 - - 2.00 น้อย
4 3 1.78 - - 1.78 น้อย
5 2 3.00 5.00 - 4.00 ดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ปานกลาง
รวม 7 2.07 4.00 - 2.62 ปานกลาง
ผลการประเมิน ปานกลาง ดี - ปานกลาง ปานกลาง
จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
1.ควรมีกลยุทธเชิงรุกในการประชาสัมพันธ์รับนักศึกษา โดยอาจจะแน้นกลุ่มเป้าหมายที่หวังว่าจะเข้ามาศึกษาในหลักสูตร

2.ควรมีการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดการศึกษา

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

1. ควรส่งเสริมให้อาจารย์ศึกษาาต่อในระดับที่สูงขึ้น

2. ควรเร่งรัดให้อาจารย์ขอตำแหน่งทางวิชาการ

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
สิ่งต้องปรับปรุงเร่งด่วน (ถ้ามี)
บทสัมภาษณ์
ภาพถ่าย