Logo

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร (ย่อย) ปีการศึกษา 2562

หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย


บทสรุปผู้บริหาร

     จากผลการดำเนินงานของหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์ วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย   ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่อยู่ในกลุ่ม ค2 (สถาบันเฉพาะทางที่เน้นระดับปริญญาตรี) ได้คะแนนการประเมินตนเอง 3.38 มีคุณภาพอยู่ในระดับคุณภาพดี โดยมีรายละเอียดผลการดำเนินงานทั้ง 6 องค์ประกอบ ดังนี้ 

 องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย  มีผลการบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ในองค์ประกอบที่ 1 นี้ คือ ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน

          องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย  การผลิตบัณฑิตหรือการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความรู้ในวิชาและวิชาชีพ มีคุณลักษณะตามหลักสูตรที่กำหนด บัณฑิตระดับอุดมศึกษาจะต้องเป็นผู้มีความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม มีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 2 นี้เท่ากับ  4.96 ดีมาก

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา หลักสูตรศึกษาศาสตร สาขาวิชาการสอนภาษาไทย วิทยาลัย ศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย นักศึกษา ระบบการประกันคุณภาพนักศึกษา ต้องให้ความสำคัญกับการรับหรือคัดเลือกนักศึกษาและการส่งเสริมพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ความพร้อมทางการเรียน เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร   มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 3 นี้เท่ากับ 3.00 ปานกลาง

          องค์ประกอบที่ 4  อาจารย์ หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีการบริหารและพัฒนาอาจารย์ คุณภาพอาจารย์และผลลัพธ์ที่เกิดกับอาจารย์ ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 4 นี้เท่ากับ 2.00 น้อย 

          องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการสอนภาษาไทย วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีการกำกับการบริหารจัดการหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างต่อเนื่องผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 5 นี้เท่ากับ 3.75 ดี

          องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีการสนับสนุนให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 6 นี้เท่ากับ 4.00 ดี

   ผลการประเมินสรุปคะแนนเฉลี่ย 3.38 อยู่ในระดับคุณภาพดี

 

บทนำ

1.1 ชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

1) ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย

2) ชื่อปริญญา ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การสอนภาษาไทย) ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.บ. (การสอนภาษาไทย) ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Education (Teaching Thai) ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Ed. (Teaching Thai)

3) สาขาวิชาการสอนภาษาไทย

1.2 คณะต้นสังกัดและสถานที่เปิดสอน

1) คณะต้นสังกัด วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์

2) สถานที่เปิดสอน

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์

1.3 ปรัชญาความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1) ปรัชญาของหลักสูตร

1.3ปรัชญาความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1) ปรัชญาของหลักสูตร

          หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถจัดการศึกษาด้านภาษาไทยได้อย่างมีคุณภาพ โดยบูรณาการความรู้ทางด้านพระพุทธศาสนาและมีทักษะการถ่ายทอดความรู้ การค้นคว้าวิจัย เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้กรอบแนวคิดทฤษฎีที่สอดคล้องกับผู้เรียน สภาพสังคม วัฒนธรรมและวิถีการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 พร้อมทั้งยึดมั่นในจรรยาบรรณวิชาชีพครู และมีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อสร้างสรรค์และพัฒนาสังคม

2) ความสำคัญของหลักสูตร

2) ความสำคัญของหลักสูตร

          ภาษาไทยเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการแสวงหาความรู้สรรพวิชาอื่น ๆ อีกทั้งเป็นเครื่องมือสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเองและสังคมในการประกอบอาชีพ และการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นไป

3) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

3) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

         3.1 มีความรู้ความเข้าใจสาระความรู้และการบูรณาการความรู้ภาษาไทย ทั้งความรู้ทางหลักภาษาวรรณคดี วัฒนธรรมไทย มีทักษะในการใช้ภาษาไทยได้อย่างดี สามารถประยุกต์ใช้พุทธวิทยาการศึกษากับวิทยาการการสอนภาษาไทยและศาสตร์การสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

         3.2 มีทักษะการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยได้อย่างมีคุณภาพ และพัฒนาองค์ความรู้ด้านภาษาไทยเพื่อใช้ถ่ายทอดความรู้สู่ผู้เรียนและสังคม บูรณาการศาสตร์ภาษาไทยเพื่อเสริมสร้างทักษะแห่งการเรียนรู้ การสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

         3.3 มีอุดมการณ์และจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพครู มีบุคลิกภาพและคุณลักษณะความเป็นครูที่ดีและมีความรู้ที่ดีและมีความรู้ทางด้านพระพุทธศาสนาในหลักสูตรธรรมศึกษา รวมทั้งมีศักยภาพที่จะพัฒนางานในสาขาวิชาชีพให้มีความเจริญก้าวหน้า สามารถใช้ความรู้และประสบการณ์ในสาขาวิชาชีพครูในการแก้ปัญหาการทำงานได้

1.4  รหัสหลักสูตร 25491861105467

1.5 อาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (มคอ.2)

1) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ที่

ชื่อ-ฉายา/นามสกุล

ตำแหน่งทางวิชาการ/สาขาวิชา

คุณวุฒิ/สาขาวิชา

สถาบันที่สำเร็จการศึกษา

จำนวนผลงานวิชาการภายในรอบ 5 ปีย้อนหลัง

1

นางประจง ประสารฉ่ำ

อาจารย์

กศ.ม.

(การมัธยมศึกษา-

การสอนภาษาไทย)

กศ.บ.(ภาษาไทย)

ม.ศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม

 

 

ม.ศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม

2

2

นายอรรถ เทียบปัด

อาจารย์

กศ.ม.

(การมัธยมศึกษา-

การสอนภาษาไทย)

กศ.บ.(ภาษาไทย))

ม.ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร

 

 

ม.ศรีนครินทรวิโรฒปทุมวัน

2

3

นางพรทิพย์ ซังธาดา

อาจารย์

กศ.ม.(ภาษาไทย)

กศ.บ.(ภาษาไทย)

ม.ศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม

ม.ศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม

2

4

นายสุแทน โคตรภูเวียง

อาจารย์

กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)

ค.บ. (ภาษาไทย)

ค.บ. (ภาษาอังกฤษ)

กศ.บ. (สังคมศึกษา)

ศษ.บ. (บริหารการศึกษา)

 

ม.เชียงใหม่

 

วิทยาลัยครูมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

ม.ศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

 

1

 

นายทองคำ เกษจันทร์

อาจารย์

 

กศ.ม.(จิตวิทยาการศึกษา)

พธ.บ.(การสอนภาษาไทย)

ม.มหาสารคาม

ม.มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

4

หมายเหตุ เติมคุณวุฒิ สาขาวิชา สถาบันและผลงานวิชาการภายในรอบ 5 ปีย้อนหลังให้ครบถ้วนทุกระดับ

 

1.6อาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร(มคอ.2) ที่ปรับเปลี่ยนอาจารย์ประจำหลักสูตร

1) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ลำดับที่

ตำแหน่งทางวิชาการ

ชื่อ-ฉายา/นามสกุล ที่ปรับเปลี่ยน

คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา/สาขาวิชา

สำเร็จการศึกษาจากสถาบัน

ปี พ.ศ.

มติสภา

1

อาจารย์

นางประจง ประสารฉ่ำ

กศ.ม.(การมัธยมศึกษา

-การสอนภาษาไทย)

ม.ศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม

 

 

2529

คงเดิม

กศ.บ.(ภาษาไทย)

ม.ศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม

2519

2

อาจารย์

นายอรรถ เทียบปัด

กศ.ม.(การมัธยมศึกษา

-การสอนภาษาไทย)

ม.ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร

 

2530

คงเดิม

กศ.บ.(ภาษาไทย)

ม.ศรีนครินทรวิโรฒปทุมวัน

2524

3

อาจารย์

นางพรทิพย์ ซังธาดา

กศ.ม.(ภาษาไทย)

ม.ศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม

2532

คงเดิม

กศ.บ.(ภาษาไทย)

ม.ศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม

2522

4

อาจารย์

นายสุแทน โคตรภูเวียง

กศ.ม.(การบริหารการศึกษา)

ม.เชียงใหม่

2533

สมอ.08/มติสภา

 

 

ค.บ.(ภาษาไทย)

วิทยาลัยครูมหาสารคาม

2524

ค.บ. (ภาษาอังกฤษ)

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

2546

กศ.บ. (สังคมศึกษา)

ม.ศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม

2526

ศษ.บ. (บริหารการศึกษา)

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

2526

5

อาจารย์

 

นายทองคำ เกษจันทร์

กศ.ม.(จิตวิทยาการศึกษา)

ม.มหาสารคาม

2546

คงเดิม

พธ.บ.(การสอนภาษาไทย)

ม.มหาจุฬาลงกรราชวิทยาลัย

2543

หมายเหตุ เติมคุณวุฒิ สาขาวิชา สถาบันและปีที่ที่สำเร็จการศึกษาให้ครบถ้วนทุกระดับ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1.4 รหัสหลักสูตร 25491861105467

สรุปผลการประเมิน
ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพระดับหลักสูตร
หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
ปีการศึกษา 2562

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

เกณฑ์การประเมิน ผลการดำเนินการ
1. จํานวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่น้อยกว่า 5 คนและเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ผ่าน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (วิชาชีพ) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์และ มีผลงานทางวิชาการ 1 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ (วิชาชีพ)
ผ่าน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน และ มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปี ย้อนหลัง ไม่จำกัดจำนวนและประจำได้มากกว่าหนึ่งหลักสูตร
ผ่าน
4. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กันหรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน อาจารย์พิเศษมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์ในการสอนไม่น้อยกว่า 6 ปี
ผ่าน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด มีการปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด ต้องไม่เกิน 5 ปี ตามรอบระยะเวลาของหลักสูตร หรืออย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี
ผ่าน
สรุปผลการประเมิน ผ่าน

ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย คะแนนประเมินจากคณะกรรมการ
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
4
4.92
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
4
5.00
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
4.96
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.1 การรับนักศึกษา
4
3
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
4
3
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา
4
3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.00
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์
4
3
4.2 คุณภาพอาจารย์
5
0.00
4.3 ผลที่เกิดขึ้นกับ อาจารย์
4
3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
2.00
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
5.1 สาระของรายวิชาใน หลักสูตร
4
4
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
4
3
5.3 การประเมินผู้เรียน
4
3
5.4 ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
4
5
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
3.75
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
4
4
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
4.00
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (13 ตัวบ่งชี้)
3.38
ตารางวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาในระดับหลักสูตรปีการศึกษา 2562
องค์ประกอบที่ คะแนนผ่าน จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย
2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี
4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 Logo 2 - - 4.96 4.96 ดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ปานกลาง
4 3 2.00 - - 2.00 น้อย
5 4 4.00 3.67 - 3.75 ดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ดี
รวม 13 2.71 3.75 4.96 3.38 ดี
ผลการประเมิน ปานกลาง ดี ดีมาก ดี ดี
จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

ส่งเสริมผลงานทางวิชาการเพื่อพัฒนาคุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ระยะเวลาของผลงานทางวิชาการย้อนหลัง 5 ปี 

องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
-
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
-
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

แนวทางการส่งเสริม

1.ควรมีการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (IDP) และสรุปความสำเร็จของแผน

2.ควรส่งเสริมอาจารย์เรียนในระดับปริญญาเอก และการขอตำแหน่งทางวิชาการ พร้อมทั้งการตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการทั้ง 5 รูป/คน

3. ผลักดันกฎระเบียนเรื่อง การขอตำแหน่งทางวิชาการสำหรับอาจารย์อัตราจ้าง 

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
-
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
-
สิ่งต้องปรับปรุงเร่งด่วน (ถ้ามี)

ควรจัดแผนพัฒนารายบุคคล (IDP) การบริหารและพัฒนาอาจาย์ ด้านทางส่งเสริมคุณวุฒิปริญญาเอก  การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ และการส่งเสริมการตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการในฐาน TCI

บทสัมภาษณ์
ภาพถ่าย