Logo

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร (ย่อย) ปีการศึกษา 2562

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร


บทสรุปผู้บริหาร
ผลการตรวจประเมินตนเองตามองค์ประกอบคุณภาพ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย ในพระสังฆราชูปถัมภ์
ปีการศึกษา 2562
องค์ประกอบที่ คะแนนผ่าน จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย
2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี
4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 Logo 0 - - - - -
3 3 2.67 - - 2.67 ปานกลาง
4 3 2.89 - - 2.89 ปานกลาง
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ปานกลาง
รวม 11 2.81 3.50 - 3.06 ดี
ผลการประเมิน ปานกลาง ดี - ดี ดี
บทนำ

1.1 ชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

1) ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

2) ชื่อปริญญา ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร)

3) สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

1.2 คณะต้นสังกัดและสถานที่เปิดสอน

1) คณะต้นสังกัด มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย ในพระสังฆราชูปถัมภ์

2) สถานที่เปิดสอน

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัยในพระสังฆราชูปถัมภ์

1.3 ปรัชญาความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1) ปรัชญาของหลักสูตร

ผลิตบัณฑิตที่มีความรอบรู้ทางด้านภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยสามารถบูรณาการพระพุทธศาสนาเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการและเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีลธรรม คุณธรรมและจริยธรรม

2) ความสำคัญของหลักสูตร

ด้วยปัจจัยสำคัญของกระแสการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์ ภาควิชาภาษาตะวันตก มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย จึงได้ดำเนินการเปิดหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารให้มีความทันสมัย รองรับการเปลี่ยนแปลงของโลกด้านการติดต่อสื่อสาร เศรษฐกิจ สังคม และตลาดแรงงานในปัจจุบันและอนาคตที่นักศึกษาสามารถเลือกเรียนได้ตามความสนใจ ได้แก่ กลุ่มรายวิชาที่สัมพันธ์กับรายวิชาที่เน้นความรู้ทางด้านการติดต่อสื่อสาร เป็นต้น การเรียนการสอนในหลักสูตรมุ่งเน้นการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดแทรกความเป็นคนดี มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณเพื่อให้ได้บุคลากรที่มีคุณภาพ มีความสามารถในการประกอบอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลซึ่งจะเป็นกำลังสำคัญของประเทศต่อไป

3) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา เช่น ศาสนพิธี ประเพณีและศิลปวัฒนธรรมของไทยทั้งในและต่างประเทศ
2. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถในการนำความรู้ด้านภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารไปใ้ช้ประกอบอาชีพทั้งภาครัฐและเอกชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีศีลธรรม คุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบและสามารถรับใช้สังคมได้

1.4 รหัสหลักสูตร T20182112101569

สรุปผลการประเมิน
ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพระดับหลักสูตร
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย ในพระสังฆราชูปถัมภ์
ปีการศึกษา 2562

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

เกณฑ์การประเมิน ผลการดำเนินการ
1. จํานวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่น้อยกว่า 5 คนและเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ผ่าน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (วิชาการ) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์และ มีผลงานทางวิชาการ 1 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง
ผ่าน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน และ มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปี ย้อนหลัง ไม่จำกัดจำนวนและประจำได้มากกว่าหนึ่งหลักสูตร
ผ่าน
4. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กันหรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน อาจารย์พิเศษมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์ในการสอนไม่น้อยกว่า 6 ปี
ผ่าน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด มีการปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด ต้องไม่เกิน 5 ปี ตามรอบระยะเวลาของหลักสูตร หรืออย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี
ผ่าน
สรุปผลการประเมิน ผ่าน

ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย คะแนนประเมินจากคณะกรรมการ
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
ไม่รับการประเมิน
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
ไม่รับการประเมิน
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
0.00
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.1 การรับนักศึกษา
4
3
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
4
3
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา
4
2
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
2.67
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์
4
3
4.2 คุณภาพอาจารย์
5
1.67
4.3 ผลที่เกิดขึ้นกับ อาจารย์
4
4
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
2.89
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
5.1 สาระของรายวิชาใน หลักสูตร
4
3
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
4
3
5.3 การประเมินผู้เรียน
4
3
5.4 ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
4
5
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
3.50
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
4
3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
3.00
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (11 ตัวบ่งชี้)
3.06
ตารางวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาในระดับหลักสูตรปีการศึกษา 2562
องค์ประกอบที่ คะแนนผ่าน จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย
2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี
4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 Logo 0 - - - - -
3 3 2.67 - - 2.67 ปานกลาง
4 3 2.89 - - 2.89 ปานกลาง
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ปานกลาง
รวม 11 2.81 3.50 - 3.06 ดี
ผลการประเมิน ปานกลาง ดี - ดี ดี
จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
-
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

1.ควรตั้งค่าเป้าหมายเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณให้ชัดเจนเพื่อสำรวจวิธีการประเมินกระบวนให้เป็นรูปธรรม

2.ควรมีการวัดและประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21 ให้เป็นรูปธรรม สะท้อนทักษะรายบุคคล 

 3.ควรออกแบบกิจกรรมให้ครอบคลุมทั้ง 2  กลุ่มทั้งนักศึกษาไทย และนักศึกษาต่างชาติ

4. ควรออกแบบสำรวจความพึงพอใจให้คลอบคลุมการประเมินเนื้อหาองค์ประกอบ 3.1 และ 3.2 

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

1. ควรมีแผนบริหารบุคลากรรายบุคคลทั้งระยะสั้นและระยะยาวเพื่อส่งผลการพัฒนาตัวเองและอาจารย์ ทั้งด้านคุณวุฒิ ตำแหน่งทางวิชาการ และการตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการ

2. ควรมีการส่งเสริมการพัฒนาอาจารย์ในประเด็นที่ยังขาด เช่น คุณวุฒิ และตำแหน่งทางวิชาการ

3. ควรออกแบบสำรวจความพึงพอใจให้คลอบคลุมการประเมินเนื้อหาองค์ประกอบ 4.1 

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

1.ควรเพิ่มขั้นตอนการอธิบายการพัฒนาออกแบบหลักสูตร ให้มีความทันสมัยโดยดูจุดเน้นของหลักสูตรเป็นหลัก

2. ควรอธิบายขั้นตอนการบูรณาการระหว่างรายวิชากับพันธกิจต่าง ๆ ให้สะท้อนถึงสมรรถนะที่นักศึกษาจะมีทักษะและผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้นกับหลักสูตร

 

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

ควรมีแผนสนับสนุนการบริหารสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ในด้านความพร้อมของการบริหารหลักสูตร ทั้งระยะสั้นและระยะยาว

 

สิ่งต้องปรับปรุงเร่งด่วน (ถ้ามี)
บทสัมภาษณ์
ภาพถ่าย