Logo

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา

หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์


บทสรุปผู้บริหาร

บทสรุปผู้บริหาร

                 หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ คณะสังคมศาสตร์หลักสูตรมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีผลการดำเนินงานในปีการศึกษา 2562 ได้มาตรฐานตามมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และมีระดับคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก (4.07 คะแนน) ตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร 6 องค์ประกอบ (13 ตัวบ่งชี้) โดยองค์ประกอบที่ 1 “ผ่าน”  อีก 5 องค์ประกอบ มีจำนวน 2 องค์ประกอบ อยู่ในระดับดีมาก (องค์ประกอบที่ 2,5), มีจำนวน 3 องค์ประกอบ อยู่ในระดับดี (องค์ประกอบที่ 3,4 และ 6)

 

สรุปผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบ

องค์ประกอบ

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

หมายเหตุ

   0.01 – 2.00   น้อย

   2.01  – 3.00  ปานกลาง

   3.01  – 4.00  ดี

  4.01  – 5.00  ดีมาก

องค์ประกอบที่ 1

ผ่าน

 

องค์ประกอบที่ 2

4.54

ดีมาก

 

องค์ประกอบที่ 3

3.67

ดี

 

องค์ประกอบที่ 4

3.96

ดี

 

องค์ประกอบที่ 5

4.25

ดีมาก

 

องค์ประกอบที่ 6

4.00

ดี

 

เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้

ของทุกองค์ประกอบ

4.07

ดีมาก

 

 

ข้อเสนอแนะเร่งด่วน

          องค์ประกอบที่ 4 ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ ควรส่งเสริมให้อาจารย์ทำผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการ เพราะอาจารย์ประจำหลักสูตรมีผู้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ เพียง 2 รูป/คน

บทนำ

1.1 ชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

1) ชื่อหลักสูตร หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์

2) ชื่อปริญญา สังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต (สังคมสงเคราะห์ศาสตร์)

3)

1.2 คณะต้นสังกัดและสถานที่เปิดสอน

1) คณะต้นสังกัด

2) สถานที่เปิดสอน

คณะสังคมศาสตร์
วิทยาเขตอีสาน

1.3 ปรัชญาความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1) ปรัชญาของหลักสูตร

สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ เป็นการศึกษาเพื่อการสร้างความเป็นธรรมทางสังคม และการพัฒนาสังคม การยอมรับความหลากหลายในมิติต่างๆ การสร้างสังคมให้มีความสุขไม่เลือกปฏิบัติ เคารพคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิมนุษยชนและสิทธิการเข้าถึงสวัสดิการสังคม ของทุกภาคส่วน การรับใช้สังคมและการสร้างสํานึกในการรับผิดชอบต่อหน้าที่ โดยบูรณาการพุทธศาสตร์กับวิชาชีพสังคมสงเคราะห์และสหวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม

2) ความสำคัญของหลักสูตร

3) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1.1เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม จิตสาธารณะ จรรยาบรรณทางวิชาชีพและชี้นําสังคมไปในแนวทางที่ถูกต้องและเหมาะสม

1.2 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ทัศนคติ และทักษะวิชาชีพ มีวิธีวิทยาในการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ และทักษะทางวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ สามารถประยุกต์และพัฒนาเครื่องมือการทำงานในระดับจุลภาคและมหภาคได้

1.3 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถในการบูรณาการความรู้ ทักษะทางวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ และ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเข้าไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานทางสังคมสงเคราะห์   

1.4 รหัสหลักสูตร 25491861105535

สรุปผลการประเมิน
ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพระดับหลักสูตร
หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
ปีการศึกษา

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

เกณฑ์การประเมิน ผลการดำเนินการ
สรุปผลการประเมิน ผ่าน
ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย คะแนนประเมินจากคณะกรรมการ
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 4 4.08
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต 4.08
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.1 การรับนักศึกษา 4 4
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4 4
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 4 3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา 3.67
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4 4
4.2 คุณภาพอาจารย์ 5 3.89
4.3 ผลที่เกิดขึ้นกับ อาจารย์ 4 4
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ 3.96
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
5.1 สาระของรายวิชาใน หลักสูตร 4 4
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4 4
5.3 การประเมินผู้เรียน 4 4
5.4 ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 4 5
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 4.25
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4 4
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (12 ตัวบ่งชี้) 4.00
ตารางวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาในระดับหลักสูตรปีการศึกษา
องค์ประกอบที่ คะแนนผ่าน จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย
2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี
4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 Logo 1 - - 4.08 4.08 ดีมาก
3 3 3.67 - - 3.67 ดี
4 3 3.96 - - 3.96 ดี
5 4 4.00 4.33 - 4.25 ดีมาก
6 1 - 4.00 - 4.00 ดี
รวม 12 3.84 4.25 4.08 4.00 ดี
ผลการประเมิน ดี ดีมาก ดีมาก ดี ดี
จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน
-
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต

 เเนวทางส่งเสริมเเละพัฒนา

กรณีที่มีบัณทิตสำเร็จการศึกษาจำนวนไม่มาก หลักสูตรควรมีการติดตามผลการดำเนินงานให้มากที่สุดเพื่อเป็นเเนวทางในการปรับปรุงการเรียนการสอน เเละการปรับปรุงหลักสูตร

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

เเนวทางส่งเสริม

การกำหนดเเผนงานโครงการ เตรียมความพร้อม ส่งเสริมเเละพัฒนานักศึกษา ควรให้ความสำคัญกับการสำรวจประเมินปัญหาเเละความต้องการของนักศึกษา มาพิจารณาร่วมกับวัตถุประสงต์ของหลักสูตรเเลัวนำมากำหนดเเผนงานโครงการ การติดตามเเละประเมินผลให้บรรลุอัตลักษณ์บัณฑิตที่พึงประสงค์ของหลักสูตร

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

เเนวทางส่งเสริม

1.ควรมีการส่งเสริมเเละสนับสนุนให้อาจารย์มีผลงานทางวิชาการ การวิจัย การเเต่งหนังสือเเละตำ พร้อมทั้งตีพิมพ์เผยเเพร่ระดับชาติ นานาชาติ เพื่อขอตำเเหน่งทางวิชาการในอนาคต

2.ส่งเสริมให้อาจารย์อย่างน้อย 2 ใน 5ท่าน ได้มีประสบการณืปฎิบัติงานสังคมสงเคราะห์ เพื่อยกระดับหลักสูตรให้เป็นหลักสูตรวิชาชีพ

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

เเนวทางส่งเสริมเเละพัฒนา

1.ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนบูรณาการบริการวิชาการเเละการวิจัย เพื่อพัฒนารูปเเบบการปฎิบัติงานสังคมสงเคราะห์เชิงพุทธร่วมกับองค์กรภายนอก

2.นำผลการดำเนินงานบริหารจัดการหลักสูตรที่เป็นรูปธรรมของวิทยาเขตอิสาน มาถอดบทเรียนเพื่อเป็นองค์ความรู้ขยายผลให้สถาบันอื่นร่วมเรียนรู้ เเละขอการรับรองให้เป็นเเนวปฏิบัติที่ดี 

 

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

เเนวทางส่งเสริมเเละพัฒนา

ควรเขียนรายงานผลการบริหารจัดการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่ผ่านการประเมินให้ะครอบคลุมทั้ง3 ประเด็น ได้เเก่ ระบบเเละกลไก ความเพียงพอ เเละการปรับปรุงเเละความพึงพอใจ

สิ่งต้องปรับปรุงเร่งด่วน (ถ้ามี)
บทสัมภาษณ์
ภาพถ่าย