Logo

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา

หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา


บทสรุปผู้บริหาร

จากผลการดำเนินงานของหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา ปีการศึกษา 2562 ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่อยู่ในกลุ่ม ค 2 (สถาบันเฉพาะทางที่เน้นระดับปริญญาตรี) ได้คะแนนการประเมินตนเองเฉลี่ยทุกตัวบ่งชี้ที่ 3.71  มีคุณภาพอยู่ในระดับดี โดยมีรายละเอียดผลการดำเนินงานทั้ง 6 องค์ประกอบ ดังนี้

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา มีผลการบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรในองค์ประกอบที่ 1 นี้ คือ ผ่าน

องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา การผลิตบัณฑิตหรือการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความรู้ในวิชาและวิชาชีพ มีคุณลกษณะตามหลักสูตรที่กำหนด บัณฑิตระดับอุดมศึกษาจะต้องเป็นผู้มีความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม มีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 2 นี้ เท่ากับ 4.76 หลักสูตรได้มาตรฐานระดับ ดีมาก

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา ระบบการประกันคุณภาพนักศึกษา ต้องให้ความสำคัญกับการรับหรือคัดเลือกนักศึกษา และการส่งเสริมพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ความพร้อมทางการเรียน เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 3 นี้ เท่ากับ 3.00 หลักสูตรได้มาตรฐานระดับ ดี

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา มีการบริหารและพัฒนาอาจารย์ คุณภาพอาจารย์ และผลลัพธ์ที่เกิดกับอาจารย์ ผลการประเมิน ตนเองในองค์ประกอบที่ 4 นี้เท่ากับ 3.58 หลักสูตรได้มาตรฐานระดับ ดี

องค์ประกอบที่ 5 การเรียนการสอนการประเมินผู้เรียน หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา มีการกำกับการบริหารจัดการหลักสูตรให้มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง ผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 5 นี้เท่ากับ 3.75 หลักสูตรได้มาตรฐานระดับ ดี

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา มีการสนับสนุนให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ผลการประเมินตนเองใน องค์ประกอบที่ 6 นี้เท่ากับ 4.00 หลักสูตรได้มาตรฐานระดับ ดี

บทนำ

1.1 ชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

1) ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา

2) ชื่อปริญญา ศาสนศาสตรบัณฑิต ศน.บ. (ปรัชญา)

3)

1.2 คณะต้นสังกัดและสถานที่เปิดสอน

1) คณะต้นสังกัด

2) สถานที่เปิดสอน

คณะศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 

วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย

วิทยาเขตร้อยเอ็ด

วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร 

 

1.3 ปรัชญาความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1) ปรัชญาของหลักสูตร

หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความเข้าใจในระบบปรัชญาต่าง ๆ มีความคิดสร้างสรรค์ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างมีวิจารณญาณ สามารถนำความรู้ที่ได้มาไปประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดความก้าวหน้าแก่ชีวิตในทางที่ถูกต้องตลอดจนเป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์และตลาดงานปัจจุบัน โดยมีปรัชญาของหลักสูตรว่า มีความรู้คู่คุณธรรม มีจิตใจกว้างขวาง กล้าหาญ และเสียสละบนพื้นฐานขององค์ความรู้ด้านปรัชญาเพื่อสนองความต้องการของโลกไร้พรมแดน

2) ความสำคัญของหลักสูตร

พัฒนาและอบรมความรู้รวมทั้งสร้างบัณฑิตด้านปรัชญาในมิติการบูรณาการสู่สังคม เศรษฐกิจการเมือง การปกครอง ศาสนาและวัฒนธรรม

3) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้

  1. เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้และความเข้าใจระบบปรัชญาต่าง ๆ อันได้แก่ศาสนา ปรัชญา การเมือง การปกครอง การปกครอง ศาสนา และวัฒนธรรม ในบริบทการเปลี่ยนแปลงสังคมโลกสมัยใหม่อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้บัณฑิตมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ริเริ่มสร้างสรรค์ เข้าใจสถานการณ์ ปัญหาสังคม อย่างชัดเจนรอบด้าน โดยใช้ความรู้ในสาขาวิชาปรัชญาต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหาในการทำงาน และสร้างความก้าวหน้าแก่ชีวิตในทิศทางที่ถูกต้อง
  3. เพื่อให้บัณฑิตมีความคิดเปิดกว้างต่อโลกทัศน์ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างมีวิจารณญาณ
  4. เพื่อให้บัณฑิตนำเอาหลักการและวิธีการทางปรัชญาไปประยุกต์ใช้ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและมีความสามารถในการบริหารทรัพยากรที่มีอยู่ให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน โดยสอดคล้องกับสภาพสังคมปัจจุบัน

1.4 รหัสหลักสูตร 254918611110441

สรุปผลการประเมิน
ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพระดับหลักสูตร
หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา
ปีการศึกษา

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

เกณฑ์การประเมิน ผลการดำเนินการ
สรุปผลการประเมิน ผ่าน
ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย คะแนนประเมินจากคณะกรรมการ
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 4 4.52
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต 4.52
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.1 การรับนักศึกษา 4 3
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4 3
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 4 3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา 3.00
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4 3
4.2 คุณภาพอาจารย์ 5 3.75
4.3 ผลที่เกิดขึ้นกับ อาจารย์ 4 4
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ 3.58
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
5.1 สาระของรายวิชาใน หลักสูตร 4 3
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4 4
5.3 การประเมินผู้เรียน 4 3
5.4 ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 4 5
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 3.75
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4 4
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (12 ตัวบ่งชี้) 3.61
ตารางวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาในระดับหลักสูตรปีการศึกษา
องค์ประกอบที่ คะแนนผ่าน จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย
2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี
4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 Logo 1 - - 4.52 4.52 ดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ปานกลาง
4 3 3.58 - - 3.58 ดี
5 4 3.00 4.00 - 3.75 ดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ดี
รวม 12 3.25 4.00 4.52 3.61 ดี
ผลการประเมิน ดี ดี ดีมาก ดี ดี
จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน
-
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต

จุดเด่น

นักศึกษาจบแล้วได้งานทำ 100% และตรงตามสาขาวิชาที่จบ

นักศึกษาเข้าถึงเป้าหมายของหลักสูตรในเรื่อง วิชาการทางด้านปรัชญาทางศาสนา 

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

ควรเพิ่มช่องทางการรับนักศึกษาให้ได้ตามเป้าหมายที่วางไว้

 

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

มีทุนสนับสนุนการทำวิจัย ตำรา และมีการจัดสัมมนา ร่วมกันระหว่างวิทยาเขตและส่วนกลาง

จุดที่ควรพัฒนา

ควรปรับปรุงระบบการบริหารอาจารย์ให้มีความมั่นคงในการต่อสัญญาการจ้างให้มีระยะเวลาที่มากขึ้น  การบรรจุอาจารย์ให้เป็นอาจารย์ประจำ 

ส่งเสริมให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรให้มีผลงานทางวิชาการเพิ่มขึ้นและตีพิมพ์ในวารสารที่สูงขึ้น

 

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
-
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ในด้านพระพุทธศาสนากับชุมชนและสังคม 

มีชุมชนที่เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สำคัญ เช่น ร้อยเอ็ด 

มีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายที่สามารถปรับใช้ในการสถานการณ์ต่างๆได้ เช่น การสัมมนาออนไลน์

 

สิ่งต้องปรับปรุงเร่งด่วน (ถ้ามี)
บทสัมภาษณ์
ภาพถ่าย

2_61_7