Logo

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา

หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา


บทสรุปผู้บริหาร

จากผลการดำเนินงานของหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ในรอบปีการศึกษา 2561 ที่ผ่านมาการประเมินตนเอง คะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 3.05 มีคุณภาพอยู่ในระดับดีและในรอบปีการศึกษา 2562 ( มิถุนายน 2562–พฤษภาคม 2563) ได้คะแนนการประเมินตนเองในภาพรวมเฉลี่ย 3.35 มีคุณภาพอยู่ในระดับดี เมื่อแยกพิจารณาเป็นรายองค์ประกอบ  มีผลการประเมินทั้ง องค์ประกอบ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

          องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน หลักสูตร ฯ ได้ดำเนินงานด้านการบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนด โดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สกอ.)  มีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ นี้ คือ ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน

          องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิตหลักสูตร ฯ ได้ดำเนินงานด้านคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลงานวิจัยของผู้สำเร็จการศึกษา  มีผลการประเมินตนเองโดยได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.78 ระดับคุณภาพดี

          องค์ประกอบที่ นักศึกษา หลักสูตร ฯ ได้ดำเนินงานด้านการรับนักศึกษา ด้านการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา และด้านผลที่เกิดขึ้นกับนักศึกษา มีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ นี้โดยได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง

          องค์ประกอบที่ 4  อาจารย์หลักสูตร ฯ  ได้ดำเนินงานด้านการบริหารและพัฒนาอาจารย์ ด้านคุณภาพอาจารย์และด้านผลที่เกิดกับอาจารย์  มีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ นี้โดยได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.34 ระดับคุณภาพดี

          องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน หลักสูตร ฯ ได้ดำเนินงานด้านสาระของรายวิชาในหลักสูตร ด้านการวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน ด้านการประเมินผู้เรียน และด้านผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ  มีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ นี้โดยได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.50 ระดับคุณภาพดี

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ หลักสูตร ฯ  ได้ดำเนินงานด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ มีผลการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ นี้ โดยได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง

บทนำ

1.1 ชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

1) ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

2) ชื่อปริญญา หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต

3)

1.2 คณะต้นสังกัดและสถานที่เปิดสอน

1) คณะต้นสังกัด

2) สถานที่เปิดสอน

บัณฑิตวิทยาลัย
วิทยาเขตร้อยเอ็ด

1.3 ปรัชญาความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1) ปรัชญาของหลักสูตร

มุ่งผลิตมหาบัณฑิตทางการบริหารการศึกษาให้เป็นนักวิชาการและนักวิชาชีพ ให้มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการสร้างและประยุกต์ใช้ความรู้ใหม่ตามศาสตร์ในสาขาวิชาการบริหารการศึกษาและฐานพระพุทธศาสนา(Buddhism-based)  ซึ่งมีความสำคัญในแง่ของการพัฒนางานสังคม และประเทศชาติ  มีมาตรฐานวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ

2) ความสำคัญของหลักสูตร

หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา เป็นหลักสูตรที่มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาของชาติ  ปรัชญาของการอุดมศึกษา ปรัชญาของสถาบันอุดมศึกษา และปรัชญาของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย  มุ่งผลิตมหาบัณฑิตทางการบริหารการศึกษาให้เป็นนักวิชาการและนักวิชาชีพ ให้มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการสร้างและประยุกต์ใช้ความรู้ใหม่ตามศาสตร์ในสาขาวิชาการบริหารการศึกษาและฐานพระพุทธศาสนา(Buddhism-based)  ซึ่งมีความสำคัญในแง่ของการพัฒนางานสังคม และประเทศชาติ  มีมาตรฐานวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ

3) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตมหาบัณฑิตให้มีคุณสมบัติ ดังนี้

๑.๒.๑  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ  สามารถปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีจิตสํานึกสาธารณะและเสียสละให้สังคม และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ

๑.๒.๒ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพ มีอุดมการณ์ของผู้บริหารและแนวทางการพัฒนาเป็นผู้บริหารมืออาชีพ และสามารถศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาวิชาชีพ

๑.๒.๓  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นผู้นําทางวิชาการ ผู้นำแบบพุทธ สามารถระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา และสามารถบริหารการศึกษาและสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนและท้องถิ่น

๑.๒.๔  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษา หลักธรรมสำหรับการบริหารสถานศึกษา สามารถกำหนด นโยบาย  แผนกลยุทธ์ และนําไปสู่การปฏิบัติให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา สามารถเลือกใช้ทฤษฎี หลักการ และกระบวนการบริหารให้สอดคล้องกับบริบทมหภาคและภูมิสังคม และสามารถบริหารงานวิชาการ บริหารแหล่งเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้

๑.๒.๕  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตร การสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้  สามารถพัฒนาหลักสูตรและบริหารการจัดการเรียนการสอนในแนวทางใหม่ได้ และสามารถปฏิบัติการประเมิน และปรับปรุงการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้

๑.๒.๖  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกิจการและกิจกรรมนักเรียน  สามารถบริหารจัดการให้เกิดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การดูแลช่วยเหลือผู้เรียน  และสามารถส่งเสริมวินัย คุณธรรม จริยธรรม และความสามัคคีในหมู่คณะ

๑.๒.๗  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา  สามารถจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อรองรับการประเมินภายนอก และนําผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้เพื่อพัฒนาสถานศึกษา

1.4 รหัสหลักสูตร 25481861109189

สรุปผลการประเมิน
ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพระดับหลักสูตร
หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
ปีการศึกษา

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

เกณฑ์การประเมิน ผลการดำเนินการ
สรุปผลการประเมิน ผ่าน
ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย คะแนนประเมินจากคณะกรรมการ
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 4 4.69
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต 4.69
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.1 การรับนักศึกษา 4 3
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4 3
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 4 3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา 3.00
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4 3
4.2 คุณภาพอาจารย์ 5 4.03
4.3 ผลที่เกิดขึ้นกับ อาจารย์ 4 3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ 3.34
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
5.1 สาระของรายวิชาใน หลักสูตร 4 3
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4 3
5.3 การประเมินผู้เรียน 4 3
5.4 ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 4 5
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 3.50
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4 3
เฉลี่ยคะแนนองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ (12 ตัวบ่งชี้) 3.39
ตารางวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาในระดับหลักสูตรปีการศึกษา
องค์ประกอบที่ คะแนนผ่าน จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย
2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี
4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 Logo 1 - - 4.69 4.69 ดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ปานกลาง
4 3 3.34 - - 3.34 ดี
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ปานกลาง
รวม 12 3.15 3.50 4.69 3.39 ดี
ผลการประเมิน ดี ดี ดีมาก ดี ดี
จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน
-
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
-
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
-
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
-
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
-
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
-
สิ่งต้องปรับปรุงเร่งด่วน (ถ้ามี)

จุดที่ควรพัฒนา

1. ควรส่งเสริมนักศึกษาในระดับปริญญาโทมีการพัฒนาบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ผลงานเผยให้อยู่ในฐานวารสารฐานที่สูงขึ้น

2. ควรมีการวางเป้าหมายในการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาสามารถเรียนและใช้ชีวิตในสถาบัน และควรมีวิธีในการ

เตรียมความพร้อมที่หลากหลาย ให้เหมาะกับสถานภาพของผู้เรียน

3. ควรส่งเสริมให้อาจารย์เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ เช่นการให้ทุนผลิตงานวิจัย งานวิชาการ เอกสาร ตำรา เป็นต้น เพื่อใช้ในการพัฒนาตำแหน่งทางวิชาการ และเพื่อยกระดับคุณภาพของการบริหารจัดการหลักสูตร

4. หลักสูตรควรมีการประเมินกระบวนการดำเนินงานและปรับปรุงให้เป็นที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม และแนวปฏิบัติที่ดี

บทสัมภาษณ์
ภาพถ่าย